Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67427
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนกพร จิตปัญญา-
dc.contributor.authorสุมลรัตน์ อาจกูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-13T03:58:22Z-
dc.date.available2020-08-13T03:58:22Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741422164-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67427-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริม การดูแลตนเองต่ออาการหายใจลําบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคปอด อุดกั้นเรื้อรังที่มารับการตรวจรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลตรัง ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 40 ราย โดยเก็บรวบรวมในกลุ่มควบคุมก่อนจนครบ 20 ราย แล้วจึงเก็บรวบรวมข้อมูล ในกลุ่มทดลองอีก 20 ราย โดยให้กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องระดับความ รุนแรงของโรค และประเภทของยาที่ได้รับ กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ ในขณะที่กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองที่ผู้วิจัยสร้างตามกรอบแนวคิดของ Orem ซึ่ง ประกอบด้วยการสร้างสัมพันธภาพ การให้ข้อมูล การฝึกทักษะปฏิบัติ และการส่งเสริมสนับสนุน โดย ใช้แผนการสอนเกี่ยวกับการส่งเสริมการดูแลตนเองและคู่มือการส่งเสริมการดูแลตนเอง โปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จากนั้นนำไปทดลองใช้กับผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังจำนวน 3 ราย เพื่อดูความเหมาะสมของโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดอาการหายใจลําบาก (Visual Analogue Scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน สถิติทดสอบที่ และ ANCOVA โดยมีค่าเฉลี่ยอาการหายใจลําบากก่อนการทดลองเป็น ตัวแปรร่วม ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. อาการหายใจลําบากของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเอง น้อยกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อาการหายใจลําบากภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองของกลุ่ม ทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental research aimed to test the effect of the Self Care Promotion Program on dyspnea in patients with chronic obstructive pulmonary disease (COPD). The subjects were 40 COPD patients attending at the out patient department, Trang Hospital. The subjects were arranged into a control group, and an experimental group. The groups were matched in terms of disease severity and medications. The control group received conventional nursing care, while the experimental group received the four-week session of Self Care Promotion Program. The program was developed based on Orem's Self Care theory. The program has four dimensions: (a) interactive nursing care, (b) didactic information, (c) self-care exercises, and (d) supportive care. The program was validated by a panel of experts. Research instrument was Dyspnea Visual Analogue Scale (DVAS) which was used to measure dyspnea perception. Statistical techniques used in data analysis were percentage, means, standard deviation, t-test, and ANCOVA. Major results were as follows: 1. At the end of the program, the experimental group reported significantly less dyspnea than they did before receiving the intervention, at the .05 level. 2. The posttest mean score of dyspnea of the experimental group was significantly lower than that of the control group, at the .05 level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการหายใจลำบากen_US
dc.subjectกลุ่มอาการหายใจลำบากen_US
dc.subjectปอดอุดกั้นen_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -- การดูแลen_US
dc.subjectDyspneaen_US
dc.subjectRespiratory distress syndromeen_US
dc.subjectLungs -- Diseases, Obstructiveen_US
dc.subjectChronically ill -- Careen_US
dc.titleผลของการใช้โปรแกรมการส่งเสริมการดูแลตนเองต่ออาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeThe effect of self care promotion program on dyspnea of patients with chronic obstructive pulmonary diseaseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorchanokporn.j@chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sumonrat_ar_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ883.82 kBAdobe PDFView/Open
Sumonrat_ar_ch1_p.pdfบทที่ 11.13 MBAdobe PDFView/Open
Sumonrat_ar_ch2_p.pdfบทที่ 22.45 MBAdobe PDFView/Open
Sumonrat_ar_ch3_p.pdfบทที่ 31.22 MBAdobe PDFView/Open
Sumonrat_ar_ch4_p.pdfบทที่ 4692.67 kBAdobe PDFView/Open
Sumonrat_ar_ch5_p.pdfบทที่ 51.06 MBAdobe PDFView/Open
Sumonrat_ar_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.