Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชัยศักดิ์ หรยางกูร-
dc.contributor.authorอุกฤษฎ์ ศรีอ่ำดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-17T01:27:13Z-
dc.date.available2020-08-17T01:27:13Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741736924-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67511-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นผลจากการศึกษาเกี่ยวกับการใช้อำนาจของอนุญาโตตุลาการในการดำเนินกระบวน พิจารณาฝ่ายเดียวเมื่อคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่เข้าร่วมกระบวนพิจารณาตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติ อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 โดยศึกษาถึงหลักเกณฑ์ในการใช้อำนาจดังกล่าว เพื่อมิให้อนุญาโตตุลาการดำเนินกระบวน พิจารณามิชอบเนื่องจากขัดต่อหลักความยุติธรรมในการดำเนินกระบวนพิจารณา กล่าวคือ ต้องพิจารณาว่าคู่กรณีต้อง ได้รับการบอกกล่าวล่วงหน้าในการแต่งตั้งอนุญาโตตุลาการหรือการพิจารณาอนุญาโตตุลาการโดยชอบ และคู่กรณีไม่เข้า ร่วมกระบวนพิจารณาโดยปราศจากเหตุอันสมควร จากการศึกษาผู้เขียนเห็นว่า มาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติ อนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มิได้บัญญัติถึงหลักเกณฑ์ในการใช้อำนาจของอนุญาโตตุลาการในการดำเนินกระบวนพิจารณาฝ่ายเดียวเหมือนดังเช่นกฎหมายต้นแบบว่าด้วยอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศของคณะกรรมการแห่งสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ และกฎหมายการอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ อาจทำให้อนุญาโตตุลาการใช้อำนาจดังกล่าวไปในทางที่ผิด ส่งผลให้คำชี้ขาดโดยขาดนัดนั้นถูกเพิกถอนหรือถูกปฏิเสธในการบังคับตามคำชี้ขาดในต่างประเทศ ฉะนั้นควรแก้ไขเพิ่มเติมถึงหลักเกณฑ์ดังกล่าวอย่างชัดเจน นอกจากนั้นยังมุ่งศึกษาถึงปัญหาที่มักเกิดขึ้นในวิธีพิจารณาอนุญาโตตุลาการโดยขาดนัด คือ พฤติการณ์ของคู่กรณีที่จะถือว่าจงใจปฏิเสธเข้าร่วมกระบวนพิจารณา และบทบาทและแนวทางของอนุญาโตตุลาการในการตัดสินข้อ พิพาทโดยพิจารณาจากพยานหลักฐานของคู่กรณีฝ่ายที่เข้าร่วมกระบวนพิจารณาเพียงฝ่ายเดียว เพื่อให้อนุญาโตตุลาการ ใช้อำนาจในการดำเนินกระบวนพิจารณาฝ่ายเดียวได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง และเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับตาม คำชี้ขาดโดยขาดนัด รวมถึงศึกษาบรรทัดฐานของศาลในประเทศต่างๆที่ยอมรับและบังคับตามคำชี้ขาดอนุญาโตตุลาการ ต่างประเทศโดยขาดนัดภายใต้อนุสัญญานิวยอร์ก ค.ศ. 1958 เพื่อศาลในประเทศไทยยึดเป็นแนวบรรทัดฐานในการบังคับ ตามคำชี้ขาดดังกล่าวให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของอนุสัญญาดังกล่าวที่ต้องการให้ประเทศต่างๆยึดถือหลักเกณฑ์ในการบังคับตามคำชี้ขาดอนุญาโตตุลาการต่างประเทศไปในแนวทางเดียวกันen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis is a result from the study on the power of arbitrator in default proceedings when one of the parties does not participate in arbitration proceedings pursuant to article 31 of the Arbitration Act B.E. 2545. The author considers principles regarding to the exercise of such power in order to prevent arbitrator from carrying out proceedings in improper manner resulting in unjustice in arbitration proceedings i.e. such a party should be informed in advance and in due course regarding the appointment of arbitrator and arbitration proceedings but does not participate in arbitration proceedings without any reasonable cause. The author finds that, unlike the UNCITRAL Model Law on International Commercial Arbitration (1985) and law of arbitration in some other countries, article 31 of the Arbitration Act B.E. 2545 does not provide any criterion for arbitrator to call for a default proceedings which may lead to an undue exercise of power by arbitrator and the arbitral award by default may eventually be set aside or refused in enforcement, therefore, a criterion to call for a default proceedings should be provided in clarity. Moreover, this thesis focuses on problems which always arise from default proceedings in arbitration, i.e. conduct of a party which is deemed a deliberate denial to participate in arbitration proceedings as well as roles and approaches to be taken by the tribunal in a default proceeding whereby the participating party is presenting its evidence. This is to ensure that the tribunal may exercise properly and righteously the power to call for a default proceedings and to increase efficacy of arbitral award enforcementen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอนุญาโตตุลาการ -- ไทยen_US
dc.subjectอนุญาโตตุลาการ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectการอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศen_US
dc.subjectการพิจารณาโดยขาดนัดen_US
dc.subjectพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545en_US
dc.subjectArbitratorsen_US
dc.subjectArbitrators -- Law and legislationen_US
dc.subjectArbitration and award, Internationalen_US
dc.subjectDefault (Law)en_US
dc.titleการดำเนินกระบวนพิจารณาอนุญาโตตุลาการโดยขาดนัดen_US
dc.title.alternativeThe default proceedings in arbitrationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPhijaisakdi.H@chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ukrit_sr_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.05 MBAdobe PDFView/Open
Ukrit_sr_ch1_p.pdfบทที่ 1938.44 kBAdobe PDFView/Open
Ukrit_sr_ch2_p.pdfบทที่ 23.46 MBAdobe PDFView/Open
Ukrit_sr_ch3_p.pdfบทที่ 35.97 MBAdobe PDFView/Open
Ukrit_sr_ch4_p.pdfบทที่ 42.82 MBAdobe PDFView/Open
Ukrit_sr_ch5_p.pdfบทที่ 51.27 MBAdobe PDFView/Open
Ukrit_sr_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.