Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย พัวจินดาเนตร-
dc.contributor.authorสุรชัย จิรศักดิ์สิริกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-08-19T09:02:05Z-
dc.date.available2020-08-19T09:02:05Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.issn9741754949-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67616-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ค้นหาหตุปัจจัยที่ส่งลกระทบต่อการเกิดของเสียในการ ผลิตแผ่นเทอร์โมเซตติงลามิเนต การดำเนินงานวิจัยทำโดยการศึกษากระบวนการผลิตทุก ๆ ขั้นตอน และ กับข้อมูลพร้อมกับการจำแนกประเภทของเสียของผลิตภัณฑ์ จากนั้นทำการค้นหาและวิเคราะห์สาเหตุการ เกิดของเสียในการผลิตแผ่นเทอร์โมเซตติงลามิเนต ประเภทของของเสียจำแนกได้เป็น 3 ประเภทคือ 1.การเกิดคราบสีขาวบนแผ่นผลิตภัณฑ์ 2.การมี เศษสิ่งแปลกปลอม บนแผ่นผลิตภัณฑ์และ 3.การเกิดสิ่งสกปรกปนเปื้อนบนแผ่นผลิตภัณฑ์ การวิเคราะห์ปัญหาการเกิดคราบสีขาวบนชิ้นงานโดยการศึกษาถึงลักษณะทางกายภาพของของเสีย พร้อมกับวิเคราะห์สภาวะการทำงานของเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตและการทดสอบปัจจัยในห้องปฏิบัติการ จากการดำเนินงานพบว่า ปัจจัยในการผลิตที่ทำให้เกิดปัญหาคราบสีขาวคือ ความไม่ทั่วถึงของอุณหภูมิที่ใช้ ในการอัดแผ่นผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีผลมจากแผ่นแท่นอัดให้ความร้อนที่กระบวนการอัดเกิดการเสื่อมสภาพ ทำ ให้การถ่ายเทความร้อนได้ไม่ดี และภายหลังการปรับปรุงโดยทำการเปลี่ยนอุปกรณ์ดังกล่าว เป็นผลให้ ปริมาณของเสียจากปัญหาคราบสีขาว ลดลงจากร้อยละ 3.77 เหลือร้อยละ 1.27 ของจำนวนการผลิต การวิเคราะห์ปัญหาการเกิดสิ่งแปลกปลอมบนแผ่นผลิตภัณฑ์ การศึกษาได้เริ่มจากการจำแนก รายละเอียดของเสียที่เกิดขึ้น เพื่อหาสาหตุการเกิดของเสียจากทุก ๆ ขั้นตอนการผลิต ซึ่งการปรับปรุงโดย การจัดทำและปฏิบัติตามอกสารมาตรการป้องกันการเกิดเศษสิ่งแปลกปลอม ผลจากการดำเนินงานพบว่า ปัญหาเศษสิ่งแปลกปลอมมีปริมาณของเสียลดลงจากร้อยละ 2.30 เหลือร้อยละ 1.35 ส่วนการวิเคราะห์ปัญหาการเกิดสิ่งสกปรกบนแผ่นผลิตกัณฑ์ เริ่มโดยการเก็บข้อมูลของเสียโดย ละเอียดที่เกิดขึ้นเพื่อหาสาหตุการเกิดของเสียที่เกิดขึ้นในทุก ๆ ขั้นตอนการผลิต การปรับปรุงโดยการจัดทำ และปฏิบัติตามเอกสารมาตรการป้องกันการเกิดสิ่งสกปรก พร้อมกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อมการทำงาน ผลจากการดำเนินงานพบว่าปัญหาสิ่งสกปรกมีปริมาณของเสียลดลงจากร้อยละ 1.99 เหลือร้อยละ 1.51 สรุปรวมปัญหาของเสียทั้งหมดหลังการปรับปรุงพบว่า ปริมาณของเสียทั้งหมดมีปริมาณลดลงจาก ร้อยละ 6.77 เหลือร้อยละ 4.14 ของจำนวนการผลิต เมื่อคิดเป็นมูลค่าของเสียที่สามารถลดลงได้เฉลี่ย ประมาณ 836,150 บาทต่อเดือน-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to identify the factors causing a defective of thermosetting laminate product. The research of this thesis was to study on production process in every step. The production data of products were analyzed to classify the defect types. All of this data was analyze in order to find out causes, which result in the product rejection. There are 3 categories of rejection problems specified in this thesis. The first cause was white slough defect. The second one was contaminated defect and last one is dirty defect. The analysis of rejection products caused by white slough defect. The first step was to consider physical of product defect and analyzes factors on production. The study found that the factor in pressing temperature was to affecting on rising defect. It was to cause from the damaged of hot platen, then changed this instrument and results of white slough defect decrease from 3.77% to 1.27% of production. The next section was to analyze about contaminated defect and dirty defect. The research started by classifies the rejected products in to each category based on the rejection cause. To prevent this problem, the working instruction was also considered as way to solve this problem. After the prevention procedure was operated the impure defect decrease from 2.30% to 1.35% and the dirty defect decrease from 1.99% to 1.51% by production. Conclusion of improvement for overall rejection rate was decreased from 6.77% to 4.14%. It could be converted into saving as 836,150 Baht/month.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการควบคุมการผลิตen_US
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์ -- ข้อบกพร่องen_US
dc.subjectProduction controlen_US
dc.subjectQuality controlen_US
dc.subjectManufactures -- Defectsen_US
dc.titleการวิเคราะห์เหตุปัจจัยควบคุมการผลิตแผ่นเทอร์โมเซตติงลามิเนตที่มีผลกระบทต่อการเกิดผลิตภัณฑ์เสียen_US
dc.title.alternativeAnalysis on production control factors of thermosetting laminate affecting on rising product defectsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSomchai.Pua@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surachai_ji_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.12 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ji_ch1_p.pdfบทที่ 11.23 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ji_ch2_p.pdfบทที่ 21.68 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ji_ch3_p.pdfบทที่ 32.6 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ji_ch4_p.pdfบทที่ 41.1 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ji_ch5_p.pdfบทที่ 54.83 MBAdobe PDFView/Open
Surachai_ji_ch6_p.pdfบทที่ 6680.78 kBAdobe PDFView/Open
Surachai_ji_ch7_p.pdfบทที่ 7861.96 kBAdobe PDFView/Open
Surachai_ji_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก7.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.