Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67916
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุมา สุคนธมาน | - |
dc.contributor.author | เทพวาณี วินิจกำธร | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-16T04:27:41Z | - |
dc.date.available | 2020-09-16T04:27:41Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9741750625 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67916 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาการปลูกฝังค่านิยมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ ตัวอย่างประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2547 โรงเรียนสาธิตบางนา จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 23 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนตามเนื้อหาสาระค่านิยม แบบวัดเจตคติของนักเรียนตามค่านิยม และแบบวัดพฤติกรรมการปฏิบัติตนของนักเรียนตามค่านิยมที่ต้องการปลูกฝังตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งแบบบันทึกการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1.ค่าเฉลี่ยของคะแนนความรู้ ความเข้าใจของนักเรียนตามเนื้อหาสาระค่านิยมที่ต้องการปลูกฝัง เรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ ภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมการปลูกฝังค่านิยม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.ค่าเฉลี่ยของคะแนนเจตคติของนักเรียนตามค่านิยมที่ต้องการปลูกฝัง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร และความรอบคอบของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ ภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมปลูกฝังค่านิยมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.ค่าเฉลี่ยของคะแนนพฤติกรรมการปฏิบัติตนของนักเรียนตามค่านิยมที่ต้องการปลูกฝังใน เรื่อง ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร และความรอบครอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ ภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยของคะแนนสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมกิจกรรมการปลูกฝังค่านิยม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีระดับ .05 4.จากแบบบันทึกการเรียนรู้ที่นักเรียนได้เขียนบรรยายสิ่งที่ได้เรียนรู้ ความรู้สึกของการเข้าร่วม กิจกรรมประโยชน์ที่ได้รับ และการนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน พบว่า นักเรียนได้รับความรู้ความเข้าใจเนื้อหาสาระของค่านิยม รู้ถึงคุณค่าและความสำคัญของการมีค่านิยมทั้ง 4 เรื่อง และนักเรียนสามารถบอกและแสดงพฤติกรรมของการปฏิบัติตนที่แสดงออกถึงการมีค่านิยมทั้ง 4 เรื่องได้ ในส่วนของความรู้สึกต่อการเข้าร่วมกิจกรรมนักเรียนได้ปฏิบัติจริง ได้มีโอกาสทำงานร่วมกับเพื่อนในห้อง นักเรียนรู้สึกสนใจ สนุก เพลิดเพลิน ชอบกิจกรรมต่าง ๆ และดีใจที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ในส่วนประโยชน์ที่นักเรียนได้รับนั้น นักเรียนสามารถทำงานประดิษฐ์ต่าง ๆ ได้และดีใจที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ในส่วนประโยชน์ที่นักเรียนได้รับนั้น นักเรียนสามารถทำงานประดิษฐ์ต่าง ๆ ได้ สามารถทำงานกลุ่มให้สำเร็จได้ด้วยความร่วมมือกัน สามารถทำแผนผังความคิดเป็น และมีความกล้าในการแสดงออกเพิ่มมากขึ้น | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to inculcate values through the sufficiency economy philosophy namely. Honesty patience, perseverance, and prudent of Prathom Suksa five students by using the process according to Bloom and Rath’s principles. The subjects were 23 Prathom Suksa five students, in the academic year 2004, from Satil Bangna School, Samulprakan Province The research instruments include: the learner’s knowledge form for values, the learner’s altitude form according to values, the learner’s behavior for practice form according to the sufficiency economy philosophy, and the learning record form, Data of the study were statistically analyzed by using mean, standard deviation, and t-test. The results were as follows: 1.The post-test mean score of the learner’s knowledge for values that need to inculcate honesty, patience, perseverance, and prudent to Prathom Suksa five students by using the process according to Bloom and Rath’s principles, was higher than that of the pre-test at the .05 level of significance. 2.The post-test mean score of the learner’s altitude for values that need to inculcate Honesty, patience, perseverance, and prudent of Prathom Suksa five students by using the process according to Bloom and Rath’s principles, was higher than that of the pre-test at the .05 level of significance. 3.The post-test mean score of the learner’s behavior for values that need to inculcate honesty, patience, perseverance, and prudent of Prathom Suksa five students by using the process according to Bloom and Rath’s principles, was higher than that of the pre-test at the .05 level of significance. 4.According to the learning record form in which students prescribed what they learned, their feelings of joining activities, their gained advantages and how to apply acquired knowledge into daily life, it was found that students knew and understood the matters of values. They were able to perceive the worth and significance of having four values, and also enable to tell and present behavior practices representing such four values. In terms of their feeling of joining activities, students took the actual practices and joined group class. They were interested in, had fun, enjoyed, pleased and glad to be the part of activities. Respecting the advantages, they obtained, they can create stuff, corporate on group activities, make mind mapping, and have courage in expressing more views. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.484 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ค่านิยม -- กิจกรรมการเรียนการสอน -- ไทย | en_US |
dc.subject | นักเรียนประถมศึกษา -- ไทย | en_US |
dc.subject | เศรษฐกิจพอเพียง | en_US |
dc.subject | Values -- Thailand | en_US |
dc.subject | Values -- Study and teaching -- Activity programs | en_US |
dc.subject | School children -- Thailand | en_US |
dc.title | การปลูกฝังค่านิยมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการตามแนวคิดของบลูมและแรทส์ | en_US |
dc.title.alternative | The inculcation of values through the sufficiency economy philosophy in prathom suksa five students by using the process according to Bloom and Rath's principles | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ประถมศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2005.484 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thepvanee_vi_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thepvanee_vi_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thepvanee_vi_ch2_P.pdf | บทที่ 2 | 3.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thepvanee_vi_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thepvanee_vi_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thepvanee_vi_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Thepvanee_vi_back_p.pdf | รายการอ้างอิงและภาคผนวก | 4.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.