Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67927
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุรา ปานเจริญ | - |
dc.contributor.author | อลิสา เชาว์ไวพจน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-17T02:46:20Z | - |
dc.date.available | 2020-09-17T02:46:20Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67927 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาการนำกากตะกอนซึ่งเป็นของเสียจากกระบวนการบำบัดน้ำเสียของโรงงานผลิตลาเท็กซ์ที่เป็นกรณีศึกษามาใช้เป็นตัวเติมหรือฟิลเลอร์ในผลิตภัณฑ์ประกอบแต่งเรซินอิพ็อกซี ซึ่งเป็นการลดต้นทุนการผลิตจากการสั่งซื้อตัวเติมและลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดกากตะกอนที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม กากตะกอนจะถูกทำให้แห้งและบดคัดขนาดเพื่อผสมทดแทนและเปรียบเทียบกับตัวเติมแบบเดิมที่ใช้อยู่ ได้แก่ CaCO₃ และ Glass spheres ในปริมาณ 25, 50, 75 และ 100% (w/w) จากการศึกษาพบว่าขนาดของผงตะกอนใกล้เคียงกับ Glass spheres และใหญ่กว่า CaCO₃ จึงสามารถนำมาใช้เป็นตัวเติมแทน Glass spheres ได้ดีกว่า CaCO₃ โดยอัตราส่วนโดยน้ำหนักที่เหมาะสมที่สุด ได้แก่ epoxy prepolymer 50.00% diluenl 13.50% silica fume 6.00% TiO₂ 8.00% CaCO₃ 18.00% glass spheres 3.00% solvent No.1 0.50% และผงตะกอน 1.00% ที่อัตราส่วนนี้ผลิตภัณฑ์ประกอบแต่งเรซินอิพ็อกซีที่ได้มีสมบัติทางกลด้านความต้านทานแรงอัด (Compressive strength) และความแข็ง (Hardness) อยู่ในมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ประกอบแต่งเรซินอิพ็อกซีของบริษัท คือ 46.76 - 51.82 MPa และ 79.71 - 81.49 MPa ตามลำดับ นอกจากนี้ยังให้ความหนืดและระยะเวลาการแห้งสัมผัสใกล้เคียงกับสูตรมาตรฐานที่ทางบริษัทใช้อยู่ และผลการวิเคราะห์ความเป็นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ด้วย Balanced scorecard อยู่ในเกณฑ์ที่คุ้มค่า นอกจากนี้พบว่าการนำผงตะกอนมาแทน Glass spheres และ CaCO₃ ไม่มีผลต่อการทนทานต่อการกัดกร่อนของน้ำทะเลเทียม ทั้งนี้เนื่องจากการทนทานต่อการกัดกร่อนของน้ำทะเลขึ้นกับชนิดของพรีพอลิเมอร์อิพ็อกซีและสารทำแข็ง | en_US |
dc.description.abstractalternative | The reuse of precipitate from wastewater treatment of a latex factory as fillers for epoxy compound products has been intensively studied. The merit of this work is a lower production cost in terms of the replacement of fillers and precipitate treatment. The precipitate was dried, ground, sieved and used in stead of the common fillers, CaCO₃ or glass spheres, in the epoxy compound formulation. The amount of precipitate in the formulation has been varied from 25, 50, 75 and 100 %(w/w). It was found that the particle size of sieved precipitate was close to those of glass spheres and larger than CaCO₃, therefore it could be replaced glass spheres better than CaCO₃. The recommended formulation consists of epoxy resin 50.00%, diluent 13.5%, silica fume 6.00%, TiO₂ 8.00%, CaCO₃ 18.00%, glass spheres 3.00%, solvent No.1 0.50% and precipitate 1.00% (w/w). The mechanical properties in terms of compressive strength and hardness of the obtained epoxy compound products at this formulation stays within the standards of the company, i.e., 46.76 - 51.82 MPa and 79.71 - 81.49 MPa, respectively. In addition, the viscosity and drying time of this formulation are under specifications, and a cost-and-profit analysis using the balanced scorecard is also competitive. The precipitate in the formulation does not affect the corrosion resistance from artificial sea-water because this property depends on types of epoxy pre-polymers and hardeners. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- การตกตะกอน | - |
dc.subject | โรงงาน -- การกำจัดของเสีย | - |
dc.subject | Sewage -- Purification -- Precipitation | - |
dc.subject | Factories -- Waste disposal | - |
dc.title | การใช้กากตะกอนจากกระบวนการบำบัดน้ำเสีย ของโรงงานผลิตลาเท็กซ์เป็นตัวเติม สำหรับเรซินอิฟ็อกซี | en_US |
dc.title.alternative | Use of precipitate from wastewater treatment of latex factory as filler for epoxy resin | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมเคมี | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Alisa_ch_front_p.pdf | หน้าปก และ บทคัดย่อ | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Alisa_ch_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 967.77 kB | Adobe PDF | View/Open |
Alisa_ch_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Alisa_ch_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 910.29 kB | Adobe PDF | View/Open |
Alisa_ch_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 2.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Alisa_ch_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 773.46 kB | Adobe PDF | View/Open |
Alisa_ch_back_p.pdf | บรรณานุกรม และ ภาคผนวก | 4.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.