Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67997
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารีรัตน์ สุพุทธิธาดา | - |
dc.contributor.advisor | มานะ ศรียุทธศักดิ์ | - |
dc.contributor.advisor | โรคพาร์กินสัน | - |
dc.contributor.author | ฉัตรแก้ว พงษ์มาลา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-18T07:17:21Z | - |
dc.date.available | 2020-09-18T07:17:21Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/67997 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสิ่งกระตุ้นด้วยแสง เสียงและสั่นใน ระหว่างเดินในผู้ป่วยพาร์กินสัน อุปกรณ์ช่วยนำทางในการเดินได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการศึกษา ครั้งนี้ อุปกรณ์นี้ประกอบไปด้วยสามส่วนหลักได้แก่ ส่วนของแสง เสียง และสั่น ส่วนของแสงที่ใช้เป็น สิ่งกระตุ้นทางสายตา เมื่อกดสวิตซ์จะมีแสงในแนวนอนฉายไปบนพื้น โดยแสงที่เป็นเสันเกิดจาก เส้นใยนำแสง ส่วนของเสียงและสั่นที่ใช้เป็นสิ่งกระตุ้นทางการได้ยินและทางสัมผัสจะทำงานเป็น จังหวะที่ 100 ครั้งต่อนาที ผู้ป่วยพาร์กินสันจำนวน 19 คนได้เข้าร่วมในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้ป่วยจะ ทำการเดินด้วยความเร็วปกติบนทางเดินยาว 10 เมตร โดยจะทำการทดสอบ 8 เงื่อนไขด้วยกัน ได้แก่ เดินโดยไม่ใช้สิ่งกระตุ้น เดินโดยใช้สิ่งกระตุ้นแสง เดินโดยใช้สิ่งกระตุ้นเสียง เดินโดยใช้สิ่งกระตุ้นสั่น เดินโดยใช้สิ่งกระตุ้นแสงและเสียงร่วมกัน เดินโดยใช้สิ่งกระตุ้นแสงและสั่นร่วมกัน เดินโดยใช้สิ่งกระตุ้น เสียงและสั่นร่วมกัน และเดินโดยใช้สิ่งกระตุ้นแสง เสียงและสั่นพร้อมกันหมด การศึกษาครั้งนี้จะใช้ เครื่อง RS footscan เก็บข้อมูลพารามิเตอร์ในการเดินต่างๆเช่น ความเร็วในการเดิน ระยะก้าวในการ เดิน จำนวนก้าวในการเดิน และ ช่วงเวลาที่เท้าทั้งสองแตะพื้นพร้อมกันในระหว่างเดิน ผลการศึกษา พบว่า สิ่งกระตุ้นทั้งสามอย่างที่ทดสอบไป 7 เงื่อนไข เมื่อเปรียบเทียบกับการเดินโดยไม่ใช้สิ่งกระตุ้น แล้ว ความเร็วในการเดิน ระยะการก้าวเดิน จำนวนก้าวในการเดิน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ช่วงเวลาที่เท้าทั้งสองแตะพื้นพร้อมกันลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ด้วยเช่นกัน สรุปผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า สิ่งกระตุ้นสามารถช่วยทำให้ผู้ป่วยเดินได้ดีขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาผลระยะสั้น ควรมีการศึกษาผลระยะยาวในกลุ่มตัวอย่างที่มากกว่านี้ใน อนาคต | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study is to examine the effect of cueing device using visual , auditory and somatosensory stimuli during walking in Parkinson’s disease patients.Cueing device is developed for this study. This device consists of 3 parts; Light sound and vibration parts. All parts can work separately. A laser with a switch projecting the transverse line by using fiber optic is used for the visual part. Both sound and vibration generated a rhythm by using microcontroller at fix frequency 100 beats/min are used for auditory and somatosensory parts. 19 Subjects were asked to walk along 10m walkway in their own normal speed with 8 trials. Each trial was done 3 times. 8 trials were performed by following this order: (1) Baseline, (2) Visual cue,(3) Auditory cue,(4) Somatosensory cue,(5) Visual and Auditory cue, (6) Visual and Somatosensory cue,(7) Auditory and Somatosensory cue, and (8) Visual 1 Auditory and Somatosensory cue.RS footscan was used to collect gait parameters; walking speed, stride length, cadence and double support time. The main finding is that all 3 cues (visual, auditory and somatosensory) with 7 trials compared with baseline significantly increased walking speed, stride length and cadence (p<0.05). In addition, all cues also significantly decreased double support time (p<0.05). In conclusion, all cues can improve gait of Parkinson's disease patients. However this is a short-term study, long-term study with more patients need to be done in the future. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การกระตุ้นประสาทสัมผัส | - |
dc.subject | โรคพาร์กินสัน | - |
dc.subject | โรคพาร์กินสัน -- ผู้ป่วย | - |
dc.subject | Sensory stimulation | - |
dc.subject | Parkinson's disease | - |
dc.subject | Parkinson's disease -- Patients | - |
dc.title | การศึกษาอุปกรณ์นำทางที่ใช้แสง เสียงและสั่นกระตุ้นเพื่อพัฒนาการเดิน ของผู้ป่วยพาร์กินสัน โดยใช้เครื่องวิเคราะห์การเคลื่อนไหว | en_US |
dc.title.alternative | The study of cueing device using visual, auditory and somatosensory stimuli for improving gait in parkinson patients by motion analysis machine | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมชีวเวช | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Areerat.Su@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Mana.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chatkaew_po_front_p.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chatkaew_po_ch1_p.pdf | 1.1 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chatkaew_po_ch2_p.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chatkaew_po_ch3_p.pdf | 1.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chatkaew_po_ch4_p.pdf | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chatkaew_po_ch5_p.pdf | 1.51 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chatkaew_po_back_p.pdf | 1.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.