Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68072
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์-
dc.contributor.advisorพิษเณศ เจษฎาฉัตร-
dc.contributor.authorจันทร์ชลี มาพุทธ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-09-22T01:44:09Z-
dc.date.available2020-09-22T01:44:09Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9745741108-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68072-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณค่าใช้จ่ายที่รัฐต้องเสียไปเนื่องจากความสูญเปล่าทางการศึกษา วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสูญเปล่าทางการศึกษา และวิเคราะห์ทางเลือกในการลดความสูญเปล่าทางการศึกษา ประชากรสำหรับการวิจัยคือ นิสิต/นักศึกษาปริญญาตรีภาคปกติ คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ โปรแกรมวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 10 แห่ง ที่ออกกลางคันและใช้เวลาศึกษานานเกินกว่าระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด ระหว่างปีการศึกษา 2535-2539 จำนวน 574 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิเคราะห์ จำนวน 331 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) และใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล แล้วนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติ ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) คะแนนเฉลี่ย (x̅) ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และไค-สแควร์ (Chi-square) (x²) และการวิเคราะห์จำแนก (Discriminant Analysis) แบบมีขั้นตอน (Stepwise Method) ผลการวิจัยพบว่า 1)ความสูญเปล่าในการลงทุนการศึกษาอันเนื่องจากมีการออกกลางคันและใช้เวลาศึกษานานเกิน กว่าระยะเวลาที่กำหนดในช่วงปี 2535-2539 เป็นจำนวนเงินรวมทั้งสิ้น 20,177,680 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.1 2)ปัจจัยที่มีผลต่อความสูญเปล่าทางการศึกษาที่เป็นสาเหตุของความสูญเปล่าตามการรับรู้ของ นิสิต/นักศึกษามากที่สุด คือ สาเหตุด้านสถาบัน รองลงมาคือ สาเหตุด้านส่วนตัว และอันดับสุดท้าย คือ สาเหตุด้านครอบครัว ปัจจัยที่มีผลต่อความสูญเปล่าทางการศึกษาที่เกี่ยวกับสถานภาพส่วนตัวและการศึกษามากที่สุดคือ คะแนนเฉลี่ยสะสมมัธยมศึกษาตอนปลาย รองลงมาคือ คะแนนเฉลี่ยสะสมขณะเรียน 3)ทางเลือกในการลดความสูญเปล่าทางการศึกษา ได้แก่ (1) ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของ หลักสูตร (2) ปรับปรุงคุณภาพการแนะแนวของโรงเรียนมัธยมศึกษา-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were: 1) to calculate the cost of government on educational wastage; 2) to determine factors affecting educational wastage; 3) to purpose the alternatives for educational wastage reduction. The sample of 574 dropped-out students and those who spent longer than the specified period of study were to have from the programs of science and mathematics education in 10 public universities during the academic years of 1992-1996. Both questionnaire and interview guide also used to obtain data from 311 students and experts. Percentage, Arithematic Means (x̅), Standard Deviation (S.D.) chi-square (X²), and Discriminant Analysis by stepwise method were empioyed for the data analysis. The findings were as follows: 1)Cost burden of government on educational wastage in science and mathematics education programs from dropouts and the spending longer than the specified period of study during 1992- 1996 was about 20,177,680 baht. (4.1%) 2)Factor effecting educational wastage in the aspect of the students’ perceptions at the highest level was institutional factor followed by the students’ personal and family factor consecutively. Factor effecting educational wastage in the aspect of students’ personal and educational status at the highest level was high school grade point average follow by the cumulative grade point average at the programs. 3)To reduce educational wastage, the quality of education at high school level and university level have to be improved by (1) Improving the program’s instructional quality (2) Improving the school on guidance of quality.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen_US
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- การบริหารen_US
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษาของรัฐen_US
dc.subjectLoss controlen_US
dc.subjectUniversities and colleges -- Administrationen_US
dc.subjectPublic universities and collegesen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความสูญเปล่าทางการศึกษาและทางเลือกในการลดความสูญเปล่าของโปรแกรมวิทยาศาสตร์ศึกษาและคณิตศาสตร์ศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐen_US
dc.title.alternativeAn analysis of educational wastage and alternatives for wastage reduction of science and mathematics education programs in public universitiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpruet.s@chula.ac.th-
dc.email.advisorPhitsanes.J@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chunchalee_ma_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.11 MBAdobe PDFView/Open
Chunchalee_ma_ch1_p.pdfบทที่ 11.07 MBAdobe PDFView/Open
Chunchalee_ma_ch2_p.pdfบทที่ 22.17 MBAdobe PDFView/Open
Chunchalee_ma_ch3_p.pdfบทที่ 31.33 MBAdobe PDFView/Open
Chunchalee_ma_ch4_p.pdfบทที่ 42.83 MBAdobe PDFView/Open
Chunchalee_ma_ch5_p.pdfบทที่ 51.01 MBAdobe PDFView/Open
Chunchalee_ma_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.