Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68112
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงกมล ชาติประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | จวงจันทน์ หอมจันทนากุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-22T09:10:01Z | - |
dc.date.available | 2020-09-22T09:10:01Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743325654 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68112 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยเชิงทดลองนี้ เป็นการทดสอบแบบจำลองการโน้มน้าวใจ ที่เรียกว่า The Elaboration Likelihood Model (ELM) ที่สุธี เผ่าบุญมี ได้พัฒนามาจากแบบจำลอง ELM ที่เสนอโดย Petty และ Cacioppo โดยตามแบบจำลองที่ได้พัฒนามานี้ ให้ความสำคัญกับแรงจูงใจที่จะตัดสินใจอย่างถูกต้อง ซึ่งเป็นปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดเส้นทางที่ใช้ในการรับสารโน้มน้าวใจ โดยบุคคลที่มีแรงจูงใจที่จะตัดสินใจอย่างถูกต้องสูง จะตัดสินใจยอมรับสาร โดยอาศัยสิ่งประกอบการพิจารณาที่ตนเองคิดว่าน่าเชื่อถือ และจะช่วยให้ตัดสินใจให้ถูกต้อง สำหรับบุคคลที่มีแรงจูงใจที่จะตัดสินใจอย่างถูกต้อง และมีความสามารถที่จะคิดพิจารณาสาร จะอาศัยการคิดพิจารณาข้อโต้แย้งที่มีอยู่ในสารโน้มน้าวใจนั้น ก่อนที่จะตัดสินใจยอมรับ หรือไม่ยอมรับสาร ซึ่งกระบวนการดังกล่าว Petty และ Cacioppo เรียกว่า การวิเคราะห์ข้อโต้แย้งในสาร (Elaborate) แต่ในกรณีที่บุคคลนั้นมีแรงจูงใจ หากแต่ปราศจากความสามารถที่จะคิดพิจารณา จะพยายามแสวงหาหนทางที่น่าเชื่อถืออื่น ๆ ที่จะช่วยให้ตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เช่นโดยอาศัยแหล่งบทความ แต่หากไม่มีแหล่งบทความ หรือนัยยะอื่นใด ก็จะหันกลับไปพิจารณาตัวสารแทน แต่ทั้งนี้ วิธีการพิจารณาสารของกลุ่มที่มีความสามารถต่ำ อาจจะแตกต่างกับการพิจารณาสารของกลุ่มที่มีความสามารถสูง ผลการวิจัยที่ได้ ตรงตามที่แบบจำลองกล่าวไว้ ซึ่งผู้วิจัยได้อภิปรายผลการศึกษาที่ได้ โดยสะท้อนถึงแนวคิด และสมมติฐานต่าง ๆ ที่ได้มีการพัฒนามา และได้ทำการนิยามตัวแปรหลักบางตัวแปรใหม่ตามผลการวิจัยที่ได้ | - |
dc.description.abstractalternative | The experimental research tests the modified version of Petty and Cacioppo’s Elaboration Likelihood Model (ELM) as proposed by Suthee Phaoboonme. The modified version emphasizes the motivation to make a right decision as the factor determining the route to persuasion. In a persuasive situation, people with high motivation to make a right decision will make decision based on what they consider reliable cues. For example, people with ability to process the message may make decision by considering the arguments in the message, the process which Petty and Cacioppo called “elaboration.” For those with high motivation but without ability to process the message might considered other reliable cues such as source credibility if exist. If there were no such cues to relie on, such as those encounter low credible, the way they approach the message might be different from those with high ability to process the message. The results of the study supported the modified model. The researchers discussed the results of the study and its implication as reflected in the modification of the model postulates and the reconceptualization of majors variables. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การจูงใจ (จิตวิทยา) | en_US |
dc.subject | การโน้มน้าวใจ | en_US |
dc.subject | ความเชื่อถือได้ | en_US |
dc.subject | แบบจำลองการสื่อสาร | en_US |
dc.subject | การตัดสินใจ | en_US |
dc.subject | Motivation (Psychology) | en_US |
dc.subject | Persuasion (Psychology) | en_US |
dc.subject | Reliability | en_US |
dc.subject | Communication models | en_US |
dc.subject | Decision making | en_US |
dc.title | แรงจูงใจที่จะตัดสินใจอย่างถูกต้อง และเส้นทางการยอมรับข่าวสาร | en_US |
dc.title.alternative | Motivation to make right decision and the route to message acceptance | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การหนังสือพิมพ์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Duangkamol.C@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Juangjun_ho_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 955 kB | Adobe PDF | View/Open |
Juangjun_ho_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 870.59 kB | Adobe PDF | View/Open |
Juangjun_ho_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Juangjun_ho_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Juangjun_ho_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Juangjun_ho_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Juangjun_ho_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.