Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ พิทยพัฒน์-
dc.contributor.authorอัศวิน นันทชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-10-12T01:21:01Z-
dc.date.available2020-10-12T01:21:01Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743337474-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68514-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้อธิบายถึงการวิเคราะห์เสถียรภาพของระบบกำลังไฟฟ้า โดยพิจารณาถึงผลกระทบจากการทำงานของรีเลย์วัดระยะทาง ในการวิเคราะห์ใช้วิธีของออยเลอร์ที่มีการปรับค่าความชันในการแก้สมการเชิงอนุพันธ์ ใช้แบบจำลองของโหลดเป็นแอดมิดแตนซ์ลงดินคงที่ ใช้สมการแสดงระบบส่งในการศึกษาระบบส่ง และแบบจำลองของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าใช้แบบจำลองคลาสสิก ผลจากการวิเคราะห์แสดงถึงผลตอบสนองของความเร็วและมุมโรเตอร์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแต่ละเครื่องตลอดช่วงเวลาชั่วครู่สำหรับระบบส่งผลที่ได้แสดง คือศักย์ไฟฟ้าในบัสแต่ละบัส การไหลของกำลังไฟฟ้าจริง การไหลของกำลังไฟฟ้าเสมือนในสายส่งแต่ละสาย อิมพีแดนซ์ ปรากฎที่วัดจากรีเลย์วัดระยะทาง ต่อจากนั้นผู้วิจัยได้วิเคราะห์เสถียรภาพของระบบโดยมุ่งเน้นไป ที่ผลกระทบของระดับการส่งผ่านของกำลังไฟฟ้า เวลาที่ใช้ในการทำงานของเซอร์กิตเบรกเกอร์ เงื่อนไขในการรีโคลส และค่าที่วัดได้จากรีเลย์วัดระยะทางตลอดช่วงเวลาชั่วครู่ วิธีการนี้ได้นำไปพัฒนาเพื่อทดสอบกับระบบจริงของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ผลการทดสอบได้ แสดงถึงขีดจำกัดของระดับการส่งผ่านของกำลังไฟฟ้าระหว่างระบบหลักกับระบบทางภาคใต้ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย-
dc.description.abstractalternativeThis thesis describes transient stability analysis of an electric power system taking into account operational effect of a distance relay. The analysis uses the Modified Euler Method for solving differential equations, constant admittance to ground for load model, network performance equation for network studies, and classical model for a generator. The results from this analysis reveal the responses of speed and rotor angle of each machine during transient condition. For the transmission network, the results comprise voltage at every bus, active power flow, reactive power flow in every transmission line, apparent per unit impedance measured by a distance relay. Consequently, system stability will be analyzed emphasizing effects of power transfer, circuit breaker speed, reclosing condition and measured value of distance relay during transient periods. The developed method has been tested with an actual system of the Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT). The obtained results show that there is a power transfer limit between the central and southern areas of the EGAT system.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลัง-
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลัง -- เสถียรภาพ-
dc.subjectระบบไฟฟ้ากำลัง -- การป้องกัน-
dc.subjectรีเลย์-
dc.titleการป้องกันระบบส่งกำลังไฟฟ้า-
dc.title.alternativeElectric power transmission system protection-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Atsawin_nu_front_p.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_ch1_p.pdf687.72 kBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_ch2_p.pdf825.31 kBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_ch3_p.pdf914.19 kBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_ch4_p.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_ch5_p.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_ch6_p.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_ch7_p.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_ch8_p.pdf605.26 kBAdobe PDFView/Open
Atsawin_nu_back_p.pdf627.49 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.