Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68585
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัมพุช อินทรประสงค์-
dc.contributor.authorวรชน ยุกตานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-10-15T07:01:53Z-
dc.date.available2020-10-15T07:01:53Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743347968-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68585-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ (analytic study) แบบสังเกต โดยเปรียบเทียบสภาวะฟันสึกกร่อนในฟันถาวรหน้าบนของนักกีฬาว่ายน้ำแข่ง 86 คน กับนักเรียนที่ไม่เป็นนักกีฬาว่ายน้ำแข่ง 101 คน ศึกษาในสระว่ายน้ำ 2 แห่งที่มีค่าความเป็นกรดด่างมาตรฐาน (pH 7.2-8.4)ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่มอายู คือ 8-10ปี และ 11-15 ปี วัดฟันสึกกร่อนจากการตรวจทางคลินิกภาพถ่าย และแบบจำลองฟันปูนร่วมกับมีการวัดค่าความขรุขระของผิวฟันด้วยเครื่องวัดค่าความขรุขระผิว ข้อมูลที่ได้จากการวัดฟันสึกกร่อนดังกล่าว นำมาวิเคราะห์โดยสถิติ Unpairedt-test ผลการศึกษาพบว่าการตรวจทางคลินิก ภาพถ่าย และแบบจำลองฟันปูน ให้ผลไปในทางเดียวกัน โดยนักกีฬาว่ายน้ำแข็งมีค่าเฉลี่ยฟันสึกกร่อนมากกว่านักเรียนที่ไม่เป็นนักกีฬาว่ายน้ำแข่งอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ทั้งกลุ่มอายุ 8-10 ปีและ 11-15 ปี มีเพียงการวัดฟันสึกกร่อนโดยดูจากภาพถ่ายในฟันซี่ 21 ที่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 การวัดค่าความขรุขระผิวพบว่านักกีฬาว่ายน้ำแข่งมีค่าความขรุขระผิวน้อยกว่านักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เฉพาะกลุ่มอายุ 11-15 ปีเท่านั้น และเพื่อดูแนวโน้มของฟันสึกกร่อนกับอายุซึ่งแบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 3 กลุ่มอายุ ได้แก่ กลุ่มอายุ 8-9 ปี 10-11 ปีและ 12-15 ปี ทดสอบทางสถิติด้วย Anova พบว่ากลุ่มนักเรียน และกลุ่มนักกีฬาว่ายน้ำแข็งต่างมีฟันสึกกร่อนเพิ่มขึ้นตามอายุที่มากขึ้น แต่กลุ่มนักกีฬาว่ายน้ำแข่งมีฟันสึกกร่อนมากกว่าการทุ่มนักเรียน ตามความเห็นของผู้วิจัยการดูฟันสึกกร่อนจากแบบจำลองพื้นปูน แม้จะดี ไม่มีอคติ แต่วิธีเตรียมแบบจาลองพื้นยุ่งยาก ค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้นการดูลักษณะทางคลินิก นับเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็วประหยัด ที่ทันตแพทย์ทุกคนสามารถตรวจได้ดังนั้นเมื่อทันตแพทย์พบผู้ป่วยที่มีฟันสึกกร่อน ควรตระหนักว่าการว่ายน้ำอาจเป็นสาเหตุหนึ่งได้ การซักประวัติและคราบหินน้ำลายที่เกิดในนักกีฬาว่ายน้ำอาจช่วยเสริมในการวินิจฉัยได้ถูกต้องแม่นยำขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThis was an observational analytic study to compare the dental erosion of the upper permanent central incisors between 86 competitive swimmer students and 101 non-swimmer students who swam in 2 swimming pools with standard pH (7.2-8.4). These students were divided into two aged groups, 8-10 and 11-15 years old. Dental erosion was measured with clinical examinations, photographs and dental stone casts along with the average surface roughness parameter from profilometer. student Unpaired t-tests were used for statistical analysis. The result in all three methods of measurements were able to detect the erosion and showed that the average dental erosion from the competitive swimmer groups was more marked than that of the non-swimmer students with statistical significance (p< 0.01) for all the first three methods of measurements with both aged groups. Only the upper left central incisor of the photographed group had the statistical significance at p < 0.05. For the surface roughness method, only the 11-15 aged group in swimmers had less surface roughness at p< 0.01. Competitive swimmers and non-swimmers in three age groups of 8-9,10-11,12-15 years of age were found to have a natural trend of erosion. Anova showed that the dental erosion progressed with age and the rate of erosion is higher for the competitive swimmers than the non-swimmers. According to the author, the dental cast method of detection of erosion was acceptable with no bias though with somewhat expensive and complicated preparations. Therefore, clinical examination performed by all dental practitioners, was the most practical and economical. So should there be any erosion detected, dentists should be aware that swimming can be one of the causes. Furthermore, making clinical examinations, inquiring into the patient’s history and swimmer calculus will assist in a more accurate diagnosis.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.115-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฟัน -- การสึกกร่อนen_US
dc.subjectนักว่ายน้ำen_US
dc.subjectเครื่องวัดความหยาบผิวen_US
dc.subjectTeeth -- Erosionen_US
dc.subjectSwimmersen_US
dc.subjectProfilometer-
dc.titleสภาวะฟันสึกกร่อนในฟันถาวรหน้าบนของนักกีฬาว่ายน้ำแข่ง ในสระที่มีค่าความเป็นกรดด่างมาตรฐาน เปรียบเทียบกับเด็กทั่วไปen_US
dc.title.alternativeDental erosion in the upper permanent incisors between competitive swimmers in standard pH swimming pools and non-swimmersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineทันตกรรมสำหรับเด็กen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAmput.I@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.115-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vorachon_yu_front_p.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Vorachon_yu_ch1_p.pdf813.08 kBAdobe PDFView/Open
Vorachon_yu_ch2_p.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Vorachon_yu_ch3_p.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Vorachon_yu_ch4_p.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open
Vorachon_yu_ch5_p.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
Vorachon_yu_ch6_p.pdf694.64 kBAdobe PDFView/Open
Vorachon_yu_back_p.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.