Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68786
Title: การพัฒนาการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ : กรณีศึกษาโรงงานแหนบรถยนต์
Other Titles: Development of statistical process control for the automotive parts industry : a case study for the leaf spring industry
Authors: วรพจน์ รัตนแสงสกุลไทย
Advisors: ดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Damrong.T@chula.ac.th
Subjects: อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมการผลิต
อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์ -- การควบคุมคุณภาพ
Automobile supplies industry -- Production control
Automobile supplies industry -- Quality control
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครังนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำการพัฒนาการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติในที่เหมาะสมในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ ของกระบวนการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่เป็นแหนบรถยนต์ และเพื่อเป็นแนวทางในการวัดประสิทธิผล กับการควบคุมกระบวนการเชิงสถิติสำหรับโรงงานตัวอย่าง จากการสำรวจและศึกษาพบว่าโรงงานตัวอย่างยังไม่มีการประยุกต์ใช้การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติในการควบคุมและเฝ้าติดตามกระบวนการ จึงได้มีการศึกษาวิจัยวัดความสามารถของเครื่องจักร (Machine Capability) โดยค่า Cp และค่าความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) โดยวัดค่า Cpk เพื่อเลือกการควบคุมและเฝ้าติดตามกระบวนการเชิงสถิติที่เหมาะสม ผลการวิจัยมีการใช้การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ 2 ประเภทได้แก่ แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัย (x̅ - R) จำนวน 10 จุดควบคุม และใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบต่อเนื่อง (CSP) จำนวน 5 ชุด ควบคุม และได้ทดลองปรับปรุงวิธีการควบคุมกระบวนการ 3 กระบวนการ ได้แก่ กระบวนการเจาะรูสะดือ, กระบวนการม้วนหู และกระบวนการพ่นสีรองพื้น โดยใช้ค่า Cp และ Cpk และเปอร์เซ็นต์เสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการเป็นตัวประเมินผล จากการทคลองปรับปรุงวิธีการควบคุมกระบวนการพบว่า ค่าความสามารถเครื่องจักร (Cp) และค่าความสามารถของกระบวนการ (Cpk) มีค่าเพิ่มขึ้น รวมทั้งเปอร์เซ็นต์ของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตมีค่าลดลง
Other Abstract: The objectives of this thesis are to develop statistical process control for automotive part industry in leaf spring process and to evaluate the effectiveness of statistical process control in a sample factory. According to survey and study in sample factory, there was no implemented statistical process control (SPC) for process control monitoring. Machine capability was therefore evaluated by using Cp and process capability was evaluated by using Cpk, for selecting the appropriate statistical process control and for monitoring process control. The results for this thesis are: 1. Using 2 kinds of SPC for controlling and monitoring the production process 1.1 Using x̅-R chart at 10 stations 1.2 Using CSP (Continuous Sampling Plan) checksheet at 5 stations 2. Implementing improvement method for 3 processes (punching of center hole, eye forming and primer coating) using Cp, Cpk in production line and, percent defective product in process for evaluation. From the implementation, it is found that Cp and Cpk are increased and percent defective product in the process is decreased
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68786
ISSN: 9746398598
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Woraphot_ra_front.pdfCover and abstract750.1 kBAdobe PDFView/Open
Woraphot_ra_ch1.pdfChapter 1465.52 kBAdobe PDFView/Open
Woraphot_ra_ch2.pdfChapter 22.56 MBAdobe PDFView/Open
Woraphot_ra_ch3.pdfChapter 33.33 MBAdobe PDFView/Open
Woraphot_ra_ch4.pdfChapter 45.13 MBAdobe PDFView/Open
Woraphot_ra_ch5.pdfChapter 5467.26 kBAdobe PDFView/Open
Woraphot_ra_ch6.pdfChapter 6217.53 kBAdobe PDFView/Open
Woraphot_ra_back.pdfReference and appendix6.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.