Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68834
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพจน์ เตชวรสินสกุล | - |
dc.contributor.author | วรรณนิภา แซ่เตียว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-10-28T08:08:43Z | - |
dc.date.available | 2020-10-28T08:08:43Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.issn | 9743318267 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68834 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของดินกรุงเทพฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทรุดตัวอันเป็นผลเนื่องมาจากการก่อสร้างอุโมงค์ขนาดใหญ่สำหรับรองรับระบบขนส่งมวลชน โดยในการศึกษาจะแบ่งขั้นตอนการศึกษาวิจัยออกเป็น 2 ด้วยกัน ได้แก่ 1) การศึกษาพฤติกรรมพื้นฐานของดินอ่อนกรุงเทพฯ ภายใต้ช่วงสภาวะการลดแรง และ 2) นำผลที่ได้จากข้อ (1) มาประกอบและสร้างเป็นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์แบบง่ายๆ เพื่อนำไปประกอบในการคำนวณประมาณค่าการทรุดตัว โดยอาศัยวิธีการทาง Finite element analysis จากการทดสอบดินกรุงเทพฯ โดยการทดสอบภายใต้ Triaxial Extension Test ทำให้สามารถหาข้อมูลของการเปลี่ยนแปลงค่าของ Stiffiness ของมวลดินภายใต้หน่วยแรงแบบต่าง ๆ ค่าเปลี่ยนแปลง Stiffiness นี้สามารถแสดงได้ในรูปความสัมพันธ์ระหว่าง Stiffiness กับ ค่าอัตราส่วนของหน่วยแรง (q/p) โดยอาศัยความสัมพันธ์แบบ exponential โดยจากสมการที่นำเสนอนั้นมีค่าตัวแปรเพียง 1 ค่าเท่านั้น ที่จำเป็นต้องใช้เพื่อประกอบแบบจำลอง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ดังกล่าวได้ถูกนำไปประยุกต์เข้ากับโปรแกรม FEM เพื่อใช้ประมาณค่าการเคลื่อนตัวของชั้นดิน จากการคำนวณโดยเปรียบเทียบผลการคำนวณค่าที่เคยมีการตรวจวัดกันในอดีต พบว่า แบบจำลองดังกล่าวนั้นต้องการค่า Stress relaxation ประมาณ 9 % เพื่อที่จะสามารถประมาณค่าการเคลื่อนตัวของชั้นดินได้ใกล้เคียง เมื่อนำค่าดังกล่าวไปเปรียบเทียบกับสมการของ Peck แล้วพบว่าจะให้ค่าของ Volume loss ของพื้นผิวดินปริมาณ 2 % จากข้อมูลดังกล่าวได้ทำการประมาณการทรุดตัวของชั้นดินเดียวกัน โดยเพิ่มขนาดของอุโมงค์เป็น 6 เมตร พบว่าที่ค่า Stress relaxation เดียวกัน (ประมาณ9%) ยังคงให้ค่าการทรุดตัวที่ใกล้เคียงกับค่าการทรุดตัวที่ปริมาณจากปริมาตร Volume loss ประมาณ 2% | - |
dc.description.abstractalternative | The main objective of the present study is to focus on settlement in Bangkok ground during tunnel excavation for public transportation. Two steps were conducted in this study. The first step studies the behavior of Bangkok soft ground under unloaded. The second step formulates non-linear elastic model relates to prediction of settlement based on the above result by using finite element analysis method. The result were obtained from the isotropically consolidated undrained triaxial extension tests of Bangkok soil and leaded to the exponential equation of the normalized stiffness; ie, ratio of the tangent Young's modulus to its initial value, to the stress ratio (q / p); ie., ratio of the deviator stress and the mean stress. The empirically one parameter required by the model was dependent on the initial confining stress. The model was implemented into the finite element analysis program 'CRISP' to estimate the ground movement. The proposed model using the stress relaxation of 9% were well similar to the observed ones and to Peck's equation at the volume loss at 2%. Moreover, during the 6-meter diameter tunnel construction, it was found that the settlement was similar to the proposed model at the 9% stress relaxation and to the Peck's equation at the 2% volume loss. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อุโมงค์ -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | ดิน -- ไทย -- กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | ชั้นดิน | en_US |
dc.subject | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Tunnels -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.subject | Soils -- Thailand -- Bangkok | en_US |
dc.subject | Soil horizons | en_US |
dc.subject | Mathematical models | en_US |
dc.title | การคาดคะเนการทรุดตัวของชั้นดินกรุงเทพมหานคร เนื่องจากการก่อสร้างอุโมงค์ | en_US |
dc.title.alternative | Prediction of settlement of Bangkok soft clay due to tunnel excavation | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมโยธา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Supot.T@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wannipa_ti_front.pdf | หน้าปกและบทคัดย่อ | 794.26 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wannipa_ti_ch1.pdf | บทที่ 1 | 106.88 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wannipa_ti_ch2.pdf | บทที่ 2 | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wannipa_ti_ch3.pdf | บทที่ 3 | 606.05 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wannipa_ti_ch4.pdf | บทที่ 4 | 1.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wannipa_ti_ch5.pdf | บทที่ 5 | 1.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Wannipa_ti_ch6.pdf | บทที่ 6 | 62.74 kB | Adobe PDF | View/Open |
Wannipa_ti_back.pdf | บรรณานุกรมและภาคผนวก | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.