Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68853
Title: การพัฒนาแบบจำลองฟัซซีของกระบวนการโดยใช้วิธีครัสเตอริงและการออกแบบตัวควบคุมฟัซซีลอจิก
Other Titles: Development of fuzzy process modeling by clustering method and design of fuzzy logic controller
Authors: รุ่งจิตร์ กาญจนวัฒน์
Advisors: มนตรี วงศ์ศร
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Montree.W@chula.ac.th
Subjects: ฟัสซีเซต
การควบคุมอัตโนมัติ
ฟัสซีลอจิก
Fuzzy sets
Automatic control
Fuzzy logic
Issue Date: 2541
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้วิธีคลัสเตอริง เพื่อทำการระบุหาแบบจำลองฟัซซี ของกระบวนการ และออกแบบตัวควบคุมฟัซซี ลอจิกโดยใช้แบบจำลองฟัซซี แบบจำลองฟัซซีแบบ Takagi-Sugeno ถูกเลือกใช้และระบุหาได้จากข้อมูลของกระบวนการ การออกแบบตัวควบคุมฟัซซีแบบใช้โมเดลกระทำได้โดยใช้แบบจำลองผกผันของกระบวนการ วิธีการนี้ประยุกต์ใช้กับการควบคุมระดับของเหลวในระบบถังทรงกลม ผลจากการซิมมูเลทแสดงให้เห็นว่า อัลกอริธึมที่ใช้ในการระบุหาแบบจำลองฟัซซีให้ค่าสมรรถนะที่ดี การประเมินสมรรถนะของตัวควบคุมฟัซซีแบบใช้โมเดลกระทำโดยการเปรียบเทียบกับตัวควบคุมพีไอ ตัวควบคุมแบบกำหนดเกนต่าง ๆ กัน และตัวควบคุมฟัซซีลอจิกที่ออกแบบโดยนฤพนธ์ (2539) ซึ่งออกแบบโดยใช้กลยุทธ์การควบคุมแบบแบ่งย่านการทำงาน โครงสร้างของตัวควบคุมฟัซซีแบบใช้โมเดล สามารถออกแบบได้ง่ายจากแบบจำลองฟัซซี ผลการทดสอบพบว่าตัวควบคุมฟัซซีแบบใช้โมเดลมีความสามารถในการติดตาม (เมื่อค่าเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลง) และให้สมรรถนะที่ดีในการควบคุม
Other Abstract: This research presents application of clustering method to identify a fuzzy model process and then design the fuzzy logic controller based on the fuzzy model. The fuzzy model of the Takagi- Sugeno type was chosen and identified from the process data. The fuzzy model-based controller could be designed by using an inverted fuzzy model of the process. The described method is applied to liquid level control in spherical tank system. Simulation results show that the identification algorithms exhibits good performance. The performance of fuzzy model-based controller is evaluated by comparing it to PI controller, gain scheduling controller and fuzzy logic controller of Narupont (1996) which is designed by using the multi-region control strategy. The structure of fuzzy model-based controller is easily obtained from fuzzy model. The results showed that the fuzzy model-based controller could perform successful tracking ability and good performance.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมเคมี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68853
ISSN: 9743325867
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungjit_ka_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ724.58 kBAdobe PDFView/Open
Rungjit_ka_ch1.pdfบทที่ 1246.32 kBAdobe PDFView/Open
Rungjit_ka_ch2.pdfบทที่ 2571.68 kBAdobe PDFView/Open
Rungjit_ka_ch3.pdfบทที่ 31.45 MBAdobe PDFView/Open
Rungjit_ka_ch4.pdfบทที่ 41.84 MBAdobe PDFView/Open
Rungjit_ka_ch5.pdfบทที่ 51.05 MBAdobe PDFView/Open
Rungjit_ka_ch6.pdfบทที่ 6255.6 kBAdobe PDFView/Open
Rungjit_ka_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.