Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวชิราพร อัจฉริยโกศล-
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.authorเกียรติศักดิ์ พันธ์ลำเจียก-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-10-30T02:32:11Z-
dc.date.available2020-10-30T02:32:11Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.isbn9743321128-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/68915-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการนำเสนอวินโดว์ร่วมกับการจัดโครงสร้างเนื้อหาที่ต่างกันในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดีย ที่มีต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตชั้นปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่าง เป็นนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2541 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 4 กลุ่ม กลุ่มละ 21 คน โดยวิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย การนำเสนอวินโดว์ 2 แบบ คือ แบบหน้าจอเดียวและแบบหลายหน้าจอ การจัดโครงสร้างเนื้อหา 2 แบบ คือ แบบบทเรียนจัดโครงสร้างเนื้อหาให้และแบบกำหนดให้ผู้เรียนจัดโครงสร้างเนื้อหาด้วยตนเอง บทเรียนเป็นเรื่อง "หลักการสอนรายบุคคลเบื้องต้น" ผลการวิจัยพบว่า 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดียที่มีการนำเสนอวินโดว์แบบหน้าจอเดียวและแบบหลายหน้าจอ มีผลต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดียที่บทเรียนจัดโครงสร้างเนื้อหาให้และผู้เรียนพยายามจัดโครงสร้างเนื้อหาด้วยตนเอง มีผลต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3. ไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการนำเสนอวินโดว์และการจัดโครงสร้างเนื้อหาในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดีย ที่มีต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of different windows presentations and content structure arrangements in hypermedia computer-assisted instruction lesson upon the employment of knowledge of the first-year undergraduate students. The sample group was 84 first year undergraduate students during the second semester of the 1998 academic year at the Faculty of Education, Chulalongkorn University. They were randomly divided into 4 experimental groups with 21 students in each group. There were two types of window presentation, namely, single and multiple window presentations; and two types of content structure arrangement, namely, content structure arrangement by lesson and content structure arrangement by learner. The lesson was "Principles of Individualized instruction". The results of this research were as follows: 1. There was no statistical significant difference effects between single and multiple window presentations in hypermedia computer-assisted instruction lesson upon the employment of knowledge of the first year undergraduate students. 2. There was no statistical significant difference effects between content structure arrangement by lesson and content structure arrangement by learner in hypermedia computer-assisted instruction lesson upon the employment of knowledge of the first year undergraduate students. 3. There was no statistical significant interaction effects among window presentations and content structure arrangements in hypermedia computer-assisted instruction lesson upon the employment of knowledge of the first year undergraduate students.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen_US
dc.subjectอินเตอร์แอคทีฟมัลติมีเดียen_US
dc.subjectวินโดวส์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์)en_US
dc.subjectComputer-assisted instructionen_US
dc.subjectInteractive multimediaen_US
dc.subjectWindows (Computer program)en_US
dc.titleผลของการนำเสนอวินโดว์ร่วมกับการจัดโครงสร้างเนื้อหาที่ต่างกันในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบไฮเปอร์มีเดีย ที่มีต่อการใช้ความรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ 1en_US
dc.title.alternativeEffects of different windows presentations and content structure arrangements in hypermedia computer-assisted instruction lesson upon the employment of knowledge of the first year undergraduate studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVachiraporn.A@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSugree.R@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kiatisak_pu_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ970.87 kBAdobe PDFView/Open
Kiatisak_pu_ch1_p.pdfบทที่ 11.44 MBAdobe PDFView/Open
Kiatisak_pu_ch2_p.pdfบทที่ 23.88 MBAdobe PDFView/Open
Kiatisak_pu_ch3_p.pdfบทที่ 3976.05 kBAdobe PDFView/Open
Kiatisak_pu_ch4_p.pdfบทที่ 41.34 MBAdobe PDFView/Open
Kiatisak_pu_ch5_p.pdfบทที่ 51.24 MBAdobe PDFView/Open
Kiatisak_pu_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.