Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70983
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นรินทร์ วรวุฒิ | - |
dc.contributor.advisor | อภิวัฒน์ มุทิรางกูร | - |
dc.contributor.advisor | สมบูรณ์ คีลาวัฒน์ | - |
dc.contributor.author | เอื้อมแข สุขประเสริฐ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-25T02:49:36Z | - |
dc.date.available | 2020-11-25T02:49:36Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743322582 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70983 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | การค้นหาภาวะสูญเสียเฮทเทอร์โรไซโกทโดยวิธีไมโครแชทเทิลไลท์ เป็นวิธีการที่ใช้ค้นหาบริเวณที่เป็นที่อยู่ของ ยีนต้านมะเร็งถูกนำมาใช้ศึกษามะเร็งตับสองชนิดคือมะเร็งตับชนิดปฐมภูมิและมะเร็งตับชนิดอดีโนคาร์ชิโนมา โดยเลือกศึกษา ในโครโมโซม 5 คู่ และใช้ช๊อทแทนแดมรีพีทโพลีมอร์ฟิคมาร์กเกอร์ (เอสทีอาร์พี) ทั้งหมด 9 ตำแหน่ง ทำการศึกษาในกลุ่มมะเร็งตับชนิดปฐมภูมิ 25 ชิ้นเนื้อ และมะเร็งตับชนิดอดีโนคาร์ชิโนมา 24 ชิ้นเนื้อ เปรียบเทียบระหว่างเนื้อเยื่อมะเร็งและเนื้อเยื่อปกติ โดยมีวัตถุประสงค์จะเปรียบเทียบความแตกต่างของอุบัติการณ์ของภาวะการสูญเสียเฮทเทอร์โรไซโกทระหว่างมะเร็งทั้งสองชนิด ผลการทดลอง มะเร็งตับชนิดปฐมภูมิพบภาวะแอลโอเอสบนโครโมโซมคู่ที่ 1 มากที่สุดโดยพบที่ 1 พีและ 1 คิว 38.5% และ 25% ตามลำดับ โครโมโซม 18 คิวตรงตำแหน่ง 18เอส57 พบภาวะแอลโอเอส 36.4% โครโมโซม 16 คิว พบ 25% ส่วนโครโมโซม 4 คิวและ 16 คิว พบในสัดส่วนไม่มากนัก ในกลุ่มมะเร็งตับชนิดอดีโนคาร์ซิโนมา พบภาวะแอลโอเอ สมากที่สุดบนโครโมโซม 18 คิว ตำแหน่ง 18เอส55 และ 18 เอส70 45.5% และ 25% ตามลำดับ และไม่พบภาวะแอลโอเอส เลยบนโครโมโซม 1 พีตำแหน่ง เอเอ็มวายทูบีและโครโมโซม 4 คิว ทั้งสองตำแหน่งที่ทำการศึกษา และจากการเปรียบเทียบ สัดส่วนของภาวะแอลโอเอสในตำแหน่งต่าง ๆ ระหว่างมะเร็งตับทั้งสองกลุ่ม พบว่ามีความแตกต่างของอัตราการพบภาวะแอลโอ เอสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของโครโมโซม 1 พี ตำแหน่งเอเอ็มวายทูบีที่ค่าความเชื่อมั่น 95% ระหว่างมะเร็งตับชนิดปฐมภูมิ และมะเร็งตับชนิดอดีโนคาร์ชิโนมา จากการศึกษานี้พอจะสรุปได้ว่า มะเร็งตับชนิดปฐมภูมิมีแนวโน้มที่จะพบภาวะแอลโอเอสบนโครโมโซม 1พี, 4คิว ในขณะที่มะเร็งตับชนิดอดีโนคาร์ซิโนมามีแนวโน้มที่จะพบภาวะแอลโอเอสบนโครโมโซม 18 คิว และไม่พบภาวะแอลโอเอสเลย บนโครโมโซม 1 พีและ 4 คิว ดังนั้นในการที่จะใช้ภาวะการสูญเสียเฮทเทอร์โรไชโกทในการแยกชนิดมะเร็งตับชนิดปฐมภูมิและ มะเร็งตับชนิดอดีโนคาร์ชิโนมา ควรเลือกใช้เอสทีอาร์พีบนโครโมโซม 1 พีและโครโมโซม 4 คิว โดยถ้าพบภาวะแอลโอเอสบน โครโมโซมใดโครโมโซมหนึ่ง บ่งบอกว่าชิ้นเนื้อนั้นมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งตับชนิดปฐมภูมิมากกว่ามะเร็งตับชนิดอดีโนคาร์ซิโนมา ในขณะที่การไม่พบภาวะแอลโอเอสบนโครโมโซมทั้งสองนี้ ชิ้นเนื้อนั้นยังมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งตับได้ทั้งสองชนิด กล่าวคือ ประโยชน์ของการศึกษาแอลโอเอสจะมีต่อเมื่อมีการค้นพบภาวะแอลโอเอสในชิ้นเนื้อ ดังนั้นจึงควรที่จะใช้เอสทีอาร์พีหลาย ๆ ตำแหน่งบนโครโมโซม 1 พีและ 4 คิว เพื่อช่วยเพิ่มโอกาสในการพบภาวะแอลโอเอส | - |
dc.description.abstractalternative | The loss of heterozygote study, a method to identify the genomic regions containing candidate tumor suppressor genes was performed m primary hepatocellular carcinoma and metastatic adenocarcinoma of the liver. LOH were tested on 5 chromosome arms using 9 short tandem repeated polymorphic markers (STRPs). Twenty-five hepatocellular carcinoma and twenty-four metastatic adenocarcinoma of the liver were examined and compared between primary tumor samples and normal tissue samples. The objective of the study IS to determine and to compare the incidences of LOH between primary hepatocellular carcinoma and metastatic adenocarcinoma of the liver. The most frequent LOH in primary hepatocellular carcinoma was on chromosome 1 both 1p and 1q, 38.5% and 25% respectively. The next most common site was chromosome 18q, D18S57, 36.4%. LOH was found on chromosome 16q 25%. LOH study on chromosome 4q and 8q were found infrequently. In metastatic adenocarcinoma group, the most frequent site was on chromosome 18q, D18S55 and D18S70, 45.5 and 25% respectively. We did not found any LOH on chromosome 1p, AMY-2B and chromosome 4q, D4S192 and D4S194, in metastatic adenocarcinoma of the liver. The chi-square test was performed to compare the proportion of LOH study and yielded a 95% significant difference of the proportion of the LOH on chromosome 1p at AMY-2B loci between primary hepatocellular carcinoma and metastatic adenocarcinoma of the liver. From this study, It may conclude that there is a trend to find the LOH on chromosome 1p, 1q and 4q in primary hepatocellular carcinoma. But in metastatic adenocarcinoma of the liver, there is a trend to find the LOH on chromosome 18q and were not found any LOH on chromosome 1p and 4q. Therefor the polymorphic markers that appropiate to differentiate these two types of liver cancers should lied on chromosome arm 1 and 4. and if either of the two chromosome is positve for LOH, the tested tissue should be primary hepatocelluar carcinoma. But the chance IS equal between primary hepatocelluar carcinoma and metastatic adenocarcinoma if the tested yield negative results. Therefor only the positive results can be used to differentiate the two types of liver malignancy. So many STRPs markers on chromosome arm 1 and 4 should be used to increase the chance of positive results. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ตับ -- มะเร็ง | en_US |
dc.subject | มะเร็งชนิดต่อม | en_US |
dc.subject | โครโมโซม | en_US |
dc.subject | ไมโครแซทเทลไลท์ (พันธุศาสตร์) | en_US |
dc.subject | Liver -- Cancer | en_US |
dc.subject | Adenocarcinoma | en_US |
dc.subject | Chromosomes | en_US |
dc.subject | Microsatellites (Genetics) | en_US |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบภาวะการสูญเสียเฮทเทอร์โรไซโกทของโครโมโซมคู่ที่ 1,4,8,16,18 ระหว่างมะเร็งตับชนิดปฐมภูมิและมะเร็งตับชนิดอดีโนคาร์ซิโนมาที่แพร่กระจายมาจากที่อื่น | en_US |
dc.title.alternative | Comparative loss of heterozygote study of chromosome 1,4,8,16,18 between primary hepatocellular carcinoma and metastatic adenocarcinoma of the liver | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Narin.V@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Apiwat.M@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Somboon.Ke@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Aumkhae_so_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 987.82 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 951.43 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 711.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 671.65 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 958.72 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_ch7_p.pdf | บทที่ 7 | 1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_ch8_p.pdf | บทที่ 8 | 613.98 kB | Adobe PDF | View/Open |
Aumkhae_so_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 904 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.