Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70992
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว | - |
dc.contributor.author | วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2020-11-25T04:46:32Z | - |
dc.date.available | 2020-11-25T04:46:32Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746338226 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70992 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาในประเด็นเรื่องระบบอุปถัมภ์และวัฒนธรรมทางการเมืองของสังคมไทย ที่มีความสัมพันธ์กับการกระทำผิดกฎหมายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในการเลือกตั้งทั่วไป เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2538 โดยที่สมมุติฐานการวิจัย คือ "ประชาชนผู้ที่มีความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์สูง ผู้ซึ่งยึดมั่นในวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าอย่างแนบแน่น และมีรายได้ตํ่ามักจะเป็นกลุ่มที่กระทำผิดกฎหมาย การเลือกตั้งมากกว่าประชาชนกลุ่มอื่น ๆ" วิธีการศึกษาประกอบไปด้วยการใช้ข้อมูลจากเอกสาร และแบบสอบถามที่นำมาประมวลผลจำนวน 16,097 ชุด และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับบุคคลที่เกี่ยวข้องและมีความเชี่ยวชาญ ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไทยมีความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์ในระดับที่สูง และมีวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าอย่างแนบแน่น จะพบมากในพื้นที่ชนบท ในขณะเดียวกันช่องว่างระหว่างรายได้ของประชาชนมีความเหลื่อมล้ำกันมาก กลุ่มประชาชนในพื้นที่ชนบท มักจะมีรายได้ตํ่า มีความยากจนสูงกว่ากลุ่มประชาชนในเมือง ส่งผลให้เกิดการซื้อ-ขายเสียงในทุกครั้งสมัยของการเลือกตั้งในพื้นที่ชนบทอย่างกว้างขวาง จึงเป็นสาเหตุสำคัญของการกระทำผิดกฎหมายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ของผู้ลงคะแนน โดยประชาชนผู้กระทำผิดกฎหมายการเลือกตั้ง กลุ่มนี้มักพบในพื้นที่ชนบทของทุกภาค จากการศึกษาพบว่าภาคที่มีประชาชนกลุ่มนี้มากที่สุดคือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคใต้ ตามลำดับ | - |
dc.description.abstractalternative | The aim of this research is to find out the pattern of relationship between Thailand's patron-client system and political culture, and the violation of the election law by voters on the 2nd july 1995, general election. The research's hypothesis is that peoples who are highly confined to patron-client system, strictly follow subject political culture, and have a low income, usually violate the election law. By using documentary research, questionnaire, in-depth interview as the research’s methodology, this research finds that the major reason for the violation of the election law by voters is the vote-buying and selling in the rural areas, from the North-eastern, Northern, Eastern, Central, and Southern region respectively. Such a violation stems from 3 main reasons; i.e., intense patron-client system, strict subject political culture, and income disparity. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การเลือกตั้ง -- การทุจริต | en_US |
dc.subject | กฎหมายเลือกตั้ง | en_US |
dc.subject | สมาชิกผู้แทนราษฎร -- การเลือกตั้ง | en_US |
dc.subject | ระบบอุปถัมภ์ | en_US |
dc.title | การกระทำผิดกฎหมายการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของผู้ลงคะแนน | en_US |
dc.title.alternative | Violation of the election law by voters | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การปกครอง | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Varnadharma_ka_front_p.pdf | 935.08 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Varnadharma_ka_ch1_p.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Varnadharma_ka_ch2_p.pdf | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Varnadharma_ka_ch3_p.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Varnadharma_ka_ch4_p.pdf | 2.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Varnadharma_ka_ch5_p.pdf | 905.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Varnadharma_ka_back_p.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.