Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71002
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์-
dc.contributor.authorวิไลรัตน์ ชัชชวลิตสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2020-11-25T07:05:13Z-
dc.date.available2020-11-25T07:05:13Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746357921-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71002-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractการวิจัยครังนมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเข้าใจความเชื่อที่ผิด โดยการให้เหตุผลย้อนหลังในการอธิบายพฤติกรรมและการทำนายพฤติกรรมในเด็กไทยที่มีอายุ 3-5 ปีและเพื่อศึกษาพัฒนาการความรู้ความเข้าใจในเรื่องความเชื่อที่ผิดของเด็กวัยนี้ การวิจัยนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 120 คน เพศชาย 60 คน และเพศหญิง 60 คน อายุระหว่าง 3-5 ปี โดยดัดแปลงเนื้อเรื่องที่ใช้ในการทดสอบมาจากการศึกษาของ Robinson &. Mitchell (1995) เพื่อให้เหมาะสมกับเด็กไทย สถิติ ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ในครั้งนี้คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กวัยก่อนเข้าโรงเรียน ที่ทดสอบด้วยวิธีของการให้เหตุผลย้อนหลังในการอธิบายพฤติกรรม สามารถตอบคำถามได้ถูกต้องมากกว่าเด็กวัยก่อนเข้าโรงเรียนที่ทดสอบด้วยวิธีการทำนายพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. เด็กวัยก่อนเข้าโรงเรียนที่มีอายุมากกว่า สามารถตอบคำถามเกี่ยวกับ ความเชื่อที่ผิดได้ถูกต้องมากกว่าเด็กที่มีอายุน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งในการทดสอบด้วยวิธีการให้เหตุผลย้อนหลังในการอธิบายพฤติกรรมและวิธีการทำนายพฤติกรรม-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis was to compare children’s understanding of false belief with a backward explanation condition and a prediction condition and to study the development and understanding of false belief among 60 boys and 60 girls of 3 different age groups, ranging from 3-5 years old. The task devised by Robinson &. Mitchell (1995) was modified to make it| culturally appropriate for Thai children and was used as an Assessment instrument for this study. Two-way analysis of variance was utilizeed for statistical analysis. The results of this research were as follows : 1. Children in the backward explanation condition demonstrated a significantly better performance in their understanding of false belief than their counterpart in the prediction condition <p<.05). 2. The findings showed that older children performed significantly better in their understanding of false belief than younger children (p<.05) in both the backward explanation and prediction conditions.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectจิตวิทยาเด็กen_US
dc.subjectความเชื่อen_US
dc.subjectจิตใจและร่างกายen_US
dc.titleการเปรียบเทียบความเข้าใจในเรื่องความเชื่อที่ผิด ในเด็กวัยก่อนเข้าโรงเรียน โดยการให้เหตุผลย้อนหลังในการอธิบายพฤติกรรม และการทำนายพฤติกรรมen_US
dc.title.alternativeA comparison of preschool children's understanding of false belief by backward explanation and predictionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPenpilai.R@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wilairatana_ch_front_p.pdf901.07 kBAdobe PDFView/Open
Wilairatana_ch_ch1_p.pdf3.06 MBAdobe PDFView/Open
Wilairatana_ch_ch2_p.pdf916.29 kBAdobe PDFView/Open
Wilairatana_ch_ch3_p.pdf698.6 kBAdobe PDFView/Open
Wilairatana_ch_ch4_p.pdf911.13 kBAdobe PDFView/Open
Wilairatana_ch_ch5_p.pdf729.87 kBAdobe PDFView/Open
Wilairatana_ch_back_p.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.