Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71534
Title: ผลการรักษาด้วยไฟฟ้า ต่ออาการพาร์กินโซนิสซึ่มในการรักษาผู้ป่วยโรคจิตเภท
Other Titles: Effect of electroconvulsive therapy (ECT) on parkinsonism in treatment of schizophrenia
Authors: รจนา อินทะพุฒ
Advisors: เอม อินทกรณ์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: การรักษาด้วยไฟฟ้า
ผู้ป่วยจิตเภท
Electrotherapeutics
Schizophrenics
Issue Date: 2539
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการพาร์กินโซนิซึ่มก่อนและหลังการรักษาด้วยไฟฟ้าในผู้ป่วยโรคจิตเภท โดยใช้รูปแบบการวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคจิตเภท 9 ราย ของแผนกจิตเวชศาสตร์โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ที่เกิดอาการพาร์กินโซนิสซึ่ม ภายหลังการรักษาด้วยยาฮาโลเพอริดัล และมีข้อบ่งชี้ที่จะต้องได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า ใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบ accidental sampling ผู้ป่วยแต่ละรายจะได้รับการประเมิน อาการพาร์กินโซนิสซึ่ม โดยผู้วิจัยและจิตแพทย์ด้วยเครื่องมือ Webster Rating Scale ก่อนและหลังการรักษาด้วยไฟฟ้าการวิเคราะห์ข้อมูลทำโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ paired t-test ผลการวิจัยพบว่า คะแนนรวมเฉลี่ยของอาการพาร์กินโซนิสซึ่ม ของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังการรักษาด้วยไฟฟ้า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 (p<0.05) โดยที่คะแนนรวมเฉลี่ยอาการพาร์กินโซนิลซึ่มลดลงเฉลี่ยร้อยละ 55.21 หลังการรักษาด้วยไฟฟ้าผลการวิจัยสรุปว่า การรักษาด้วยไฟฟ้า สามารถลดอาการพาร์กินโซนิสซึ่มที่เกิดจากยาต้านโรคจิต ในผู้ป่วยโรคจิตเภทได้
Other Abstract: The purpose of this study was to compare the symptoms of parkinsonism before and after electroconvulsive therapy (ECT) in patients with schizophrenia. The quasi experimental research design was used. The subjects consisted of 9 schizophrenic patients who were admitted in psychiatric department of Chulalongkorn hospital. These patients developed neuroleptic induced parkinsonism at moderate degree after taking haloperidal and were indicated for ECT. Accidental sampling technique was used. The parkinsonian symptoms of each patient were evaluated by the author and a psychiatrist, using Webster Rating Scale before and after ECT. Data were analyzed by using arithmatic mean, standard deviation and paired t-test. The result showed a significant difference in the parkinsonian symptoms before and after ECT (p<0.05)1. 55.21% reduction of arithmatic means of the Webster Rating Score was found after I treatment j by ECT. The author concluded that ECT reduced parkinsonian symptoms in schizophrenic; patients Who developed neuroleptic induced parkinsonism.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: สุขภาพจิต
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71534
ISBN: 9746352563
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rodjana_in_front_p.pdfหน้าปก สารบัญและบทคัดย่อ841.24 kBAdobe PDFView/Open
Rodjana_in_ch1_p.pdfบทที่ 11.03 MBAdobe PDFView/Open
Rodjana_in_ch2_p.pdfบทที่ 24.16 MBAdobe PDFView/Open
Rodjana_in_ch3_p.pdfบทที่ 31 MBAdobe PDFView/Open
Rodjana_in_ch4_p.pdfบทที่ 4682.64 kBAdobe PDFView/Open
Rodjana_in_ch5_p.pdfบทที่ 51.24 MBAdobe PDFView/Open
Rodjana_in_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.