Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71960
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเรศ ศรีสถิตย์-
dc.contributor.advisorทศพร สุทธจินดา-
dc.contributor.authorสมจิต ปิยะศิลป์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-01-26T09:31:01Z-
dc.date.available2021-01-26T09:31:01Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746316052-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71960-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractการศึกษางานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาสภาพปัจจุบัน และปัญหาการจัดการมูลฝอย เพื่อวางแนวทางการจัดการมูลฝอยในเขตสุขาภิบาลเกาะสมุย โดยทำการศึกษาอัตราการ เกิด ปริมาณ และลักษณะสมบัติของมูลฝอย ศึกษาทางเลือกของระบบเก็บขยะมูลฝอยและระบบกำจัดมูลฝอย รวมทั้งทำการออกแบบและประมาณราคาเบื้องต้นการศึกษา พบว่า อัตราการเกิดมูลฝอยชุมชนในปัจจุบัน เท่ากับ 0.48 กิโลกรัม/คน/วัน และในอนาคตปี พ.ศ. 2554 จะเพิ่มขึ้น 0.92 กิโลกรัม/คน/วัน อัตราการเกิดมูลฝอยโรงแรม ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับสูง ระดับกลาง และระดับต่ำ เท่ากับ 4.44, 2.51 และ 1.91 กิโลกรัม/ห้อง/วัน ตามลำดับ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.79 กิโลกรัม/ห้อง/วัน และอัตราการเกิดมูลฝอยสถานที่ท่องเที่ยว เท่ากับ 0.039 กิโลกรัม/คน/วัน นอกจากนั้น ผลการศึกษายังแสดงการวางแผนการเก็บขนมูลฝอย เป็นระยะ เวลา 20 ปี (พ. ศ. 2534 - พ.ศ. 2554) โดยกำหนดเขตเก็บขนมูลฝอยออกเป็น 8 เขต รวมรถเก็บขนมูลฝอยขนาด 12 ลูกบาศก์เมตร จำนวน 21 คัน และถังรองรับมูลฝอยขนาด 0.2 ลูกบาศก์เมตร ประมาณ 1.800 ถัง และได้แสดงการวางแผนการกำจัดมูลฝอย ซึ่งพบว่า วิธีกาจัดมูลฝอยแบบฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาลเป็นวิธีที่เหมาะสม โดยเทศบาลจะต้องจัดซื้อที่ดินพื้นที่ 75 ไร่ บริเวณบ้านโคกขนุน ตำบลตลิ่งงามและก่อสร้างองค์ประกอบของระบบฝังกลบอย่างถูกหลักสุขาภิบาล รวมราคาค่าก่อสร้างประมาณ 75 ล้านบาท-
dc.description.abstractalternativeThis research aims to collect all present situation and conditions on solid waste management in Samui Sanitary District in order to aid in future planning. The solid waste generation rate and characteristics were established, as well as, the means of collecting and disposal systems were designed. Cost estimation were presented to compare alternatives. The study pointed that Samui Sanitary District generated 0.48 kg/cap/d at present, and 0.92 kg/cap/d was expected in 2011. Generation rate of hotel was shown in 3 levels: 4.44, 2.51 and 1.91 kg/room-d, with the average of 2.79 kg/room-d on the whole sector. Rate on tourist area was 0.039 kg/tourist-d. Management plan was provided for 20 years (1991 to 2011). Total collection area, divided into 8 sub-districts, would utilized 21 collecting vehicles of 12 cu.m capacity and 1,800 bins of 0.2 cu.m by the year 2011. Sanitary landfill was the most appropriate alternative. Area required was 75 rai on Ban Kok Kanun, Tambon Taling Ngam. Cost was estimated at 75 million baht for the disposal system.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectขยะ -- ไทย -- เกาะสมุยen_US
dc.subjectการกำจัดของเสียen_US
dc.titleการจัดการมูลฝอยในพื้นที่ท่องเที่ยว : กรณีศึกษาในเกาะสมุยen_US
dc.title.alternativeSolid waste management in a tourist area : a case study of Samui Islanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThares.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somjit_pi_front_p.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open
Somjit_pi_ch1_p.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Somjit_pi_ch2_p.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open
Somjit_pi_ch3_p.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open
Somjit_pi_ch4_p.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open
Somjit_pi_ch5_p.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Somjit_pi_ch6_p.pdf3.58 MBAdobe PDFView/Open
Somjit_pi_ch7_p.pdf711.6 kBAdobe PDFView/Open
Somjit_pi_back_p.pdf645.1 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.