Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72326
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวนิดา จีนศาสตร์-
dc.contributor.advisorธวัชชัย ชัยวัฒนรัตน์-
dc.contributor.authorอุมา เศวตสกุลานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-02-17T02:56:41Z-
dc.date.available2021-02-17T02:56:41Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746385739-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72326-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการศึกษาผลของฝุ่นละอองที่มีต่อการซึมผ่านของสารเภสัชรังสี Tc99m DTPA ของปอดตำรวจจราจรในกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการโดยการวัดปริมาณฝุ่น่ขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน (PM10) ในกรุงเทพมหานคร บริเวณแยกปุทมวัน สามย่าน อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิและประตูน้ำ โดยใช้อุปกรณ์เก็บตัวอย่างอากาศแบบติดตัว วัดปริมาณฝุ่นที่ตำรวจจราจรสถานีตำรวจนครบาลปทุมวันและสถานีตำรวจนครบาลพญาไท จะได้รับในช่วงเวลาทำงาน ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณฝุนเฉลี่ยรวมทั้งผลัดเช้าและบ่าย ในเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ.2540 และเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคม พ.ศ.2541 ของสถานีตำรวจนครบาลปทุมวันเท่ากับ 0.28±0.15 และ 0.32±0.15 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตรและสถานีตำรวจนครบาลพญาไทเท่ากับ 0.45±0.30 และ0.39±0.11 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามลำดับ ปริมาณฝุ่นเฉลี่ยสูงสุดพบบริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิมีค่าเท่ากับ 0.42±0.29 และ 0.40±0.11 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างและกลุ่มควบคุม ได้กระทำโดยใช้แบบสอบถามส่วนการศึกษาระบบาทางเดินหายใจ ได้นำกลุ่มตัวอย่าง คือ ตำรวจจราจรสถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน 15 ราย สถานีตำรวจนครบาลพญาไท 15 รายและกลุ่มควบคุม 10 ราย คือ บุคคลคที่ทำงานอยู่ในโรงพยาบาล นำมาตรวจสภาพปอดโดยการเอกซเรย์ ทดสอบสมรรถภาพปอดด้วย spirometry และตรวจพยาธิสภาพปอดด้วยวิธีแกรมม่าคาเมร่า วัดอัตราการซึมผ่านของสารเภสัชรังสี Te-99m DTPA ของปอด ผลการศึกษาพบว่า ค่าอัตราการซึมผ่านของสารเภสัชรังสีในช่วงเวลา 7 นาทีและ 30 นาที ของกลุ่มตัวอย่างและกลุ่มควบคุมไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ค่าเฉลี่ยของอัตราการซึมผ่านของสารเภสัชรังสีในช่วงเวลา 7 นาที ของสถานีตตำรวจนครบาลปทุมวันและพญาไท มีค่ามากกว่าควบคุม (77.1±18.4, 70.3±12.3 และ 61.1±17.2 นาที ตามลำดับ) และพบว่าปริมาณฝุ่น PM10 ผลเอกซเรย์และผลทดสอบสมรรถภาพปอดมีความสัมพันธ์กับค่าอัตราการซึมผ่านของสารเภสัชรังสี อายุและระยะเวลาที่ได้รับฝุ่นของตำรวจจราจรสถานีตำรวจจนครบาลปทุมวันและพญาไท มีความสัมพันธ์กับค่าอัตราการซึมผ่านของสารเภสัชรังสี (r=0.555 และ 0.399 ตามลำดับ)en_US
dc.description.abstractalternativeParticulate matter (PM10) in ambient air in Bangkok metropolis were taken at Pathumwan,Samyan,Victory Monument and Pratunam traffic intersection. The measurement of PM10 average in the morning and afternoon in june to August 1997 and November to January 1998 of Pathumwan police station were 0.28±0.15 and 0.32±0.15 µg/m ….Phyathai police station were 0.45±0.30 and 0.39±0.11 µg/m3respectively. The highest average PM10 was at Victory Monument (0.42±0.29 and 0.40±0.11 µg/m³) The subject and control groups were screened by using questionnaires and interviews about their respiratory conditions. The subject groups were 15 policemen from Pathumwan police station and 15 policemen from Phya Thai police station and the control groups were 10 persons selected from hospital workers. Total medical tests were comducted by chest x-ray, Spirometry and Gamma camera method. Tc-99m DTPA lung clearance in HT-7 and HT-30 between subject and control groups was no significant difference (P<0.05) Tc-99m DTPA lung clearance in HT-7 of traffic policemen from pathumwan and Phya Thai police station were higher than among the control groups (77.1±18.4,70..3±12.3 and 61.1±17.2 minutes, respectively). PM10,chest x-ray and Spirometry were correlated with Tc-99m DTPA lung clearance. Age and exposure time of traffic policemen from Pathumwan and Phya Thai police station were correlated with Tc-99m DTPA lung clearance (r=0.555 and 0.399, respectively)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฝุ่น -- จุลชีววิทยา-
dc.subjectฝุ่น -- การวัด-
dc.subjectไอโซโทปกัมมันตรังสี -- ผลกระทบทางสรีรวิทยา-
dc.subjectDust -- Microbiology-
dc.subjectDust -- Measurement-
dc.subjectRadioisotopes -- Physiological effect-
dc.titleผลของฝุ่นละอองที่มีต่ออัตราการซึมผ่านของรังสีไอโซโทป tc-99m dtpa ของปอดตำรวจจราจรในกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeEffects of particulate matter on tc-99m dtpa lung clearance in traffic policemen in bangkok metroplisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Uma_sa_front_p.pdfหน้าปก สารบัญและบทคัดย่อ823.34 kBAdobe PDFView/Open
Uma_sa_ch1_p.pdfบทที่ 1413.8 kBAdobe PDFView/Open
Uma_sa_ch2_p.pdfบทที่ 23.42 MBAdobe PDFView/Open
Uma_sa_ch3_p.pdfบทที่ 31.26 MBAdobe PDFView/Open
Uma_sa_ch4_p.pdfบทที่ 41.35 MBAdobe PDFView/Open
Uma_sa_ch5_p.pdfบทที่ 5861.41 kBAdobe PDFView/Open
Uma_sa_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก3.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.