Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณา ตุลยธัญ-
dc.contributor.advisorศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา-
dc.contributor.authorชุติมา อัศวเสถียร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-03-01T03:52:11Z-
dc.date.available2021-03-01T03:52:11Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741304897-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72461-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดการการเสริมไอโอดีนในระดับแปลงปลูกข้าว และการเสริมไอโอดีนใน เมล็ดข้าวโดยการเคลือบ เบื้องต้นศึกษาเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนแบบใช้สารเคมีและตัวอย่างจำนวนมาก (Macro scale) เทียบกับการวิเคราะห์ไอโอดีนแบบใช้สารเคมีและตัวอย่างในการวิเคราะห์น้อย (Micro scale) พบว่าการวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนแบบ Macro scale มี %Recovery ในการวิเคราะห์ 85.99% ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนแบบ Micro scale มี %Recovery 76.70% และการวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนแบบ Macro scale ในนมมีความถูกต้องและความแม่นยำ เท่ากับ 94.69±5.62% และ 5.70% ตามลำดับ ส่วนการศึกษาผลของการจัดการปุ๋ยไนโตรเจนและการฉีดพ่นธาตุ KI ต่อคุณค่าทาง โภชนาการของข้าว 2 พันธุ์ ได้แก่ ข้าวพันธุ์แพร่ 1 และ ข้าวพันธุ์คลองหลวง 1 โดยแปรอัตราปุ๋ยไนโตรเจนเป็น 0, 16 และ 32 กิโลกรัมต่อไร่ และแปรการฉีดพ่น KI เป็นการไม่ฉีดพ่น KI (ตัวควบคุม), ฉีดพ่น KI เมื่อข้าวเข้ายู่ระยะแตกหน่อจนถึงก่อนระยะ ผสมเกสร และฉีดพ่น KI เมื่อข้าวเข้ายู่ระยะกำเนิดช่อรวงจนถึงระยะผสมเกสร พบว่า การให้ปุ๋ยไนโตรเจนมีผลทำให้ปริมาณ ไนโตรเจนและปริมาณโปรตีนในข้าว 2 พันธุ์ทั้งข้าวกล้องและข้าวสารเพิ่มขึ้น ส่วนการฉีดพ่นธาตุ KI มีผลต่อการเพิ่มปริมาณ ไนโตรเจนในข้าวกล้องทั้ง 2 พันธุ์ และทำให้ปริมาณไอโอดีนในข้าวกล้องเป็น 6.62 ถึง 7.23 ไมโครกรัมต่อ 100 กรัมนํ้าหนักแห้ง และในข้าวสารเป็น 4.89 ถึง 5.04 ไมโครกรัมต่อ 100 กรัมนํ้าหนักแห้ง โดยข้าวพันธุ์คลองหลวง 1 มีปริมาณไอโอดีนสูงกว่าข้าว พันธุ์แพร่ 1 สำหรับการเสริมไอโอดีนในข้าวโดยการเคลือบ แปรสารเคลือบเป็นเจลแป้งข้าว 2 ชนิด และสารสะลายเจลพอลิเมอร์ (Methylcellulose ร่วมกับ Hydroxypropylmethylcellulose) และความเข้มข้นของสารเคลือบ 3 ระดับ คือ 1, 3 และ 5% (w/w) พบว่า การเสริมไอโอดีนในข้าวคลองหลวง 1 โดยการเคลือบ มีไอโอดีน 32.88 ถึง 40.37 ไมโครกรัมต่อ 100 กรัมนํ้าหนักแห้ง โดยข้าวคลองหลวง 1 ที่เคลือบด้วยสารละลายเจลพอลิเมอร์ 3% มีปริมาณไอโอดีนสูงสุด ส่วนการเคลือบข้าวแพร่ 1 ด้วยสารละลาย เจลพอลิเมอร์ 5% ทำให้มีปริมาณไอโอดีนสูงสุด (47.93 ไมโครกรัมต่อ 100 กรัมนํ้าหนักแห้ง) และการล้างข้าวมีผลทำให้ปริมาณไอโอดีนในข้าวทั้ง 2 พันธุ์ลดลง โดยข้าวพันธุ์คลองหลวง 1 ที่เคลือบด้วยสารละลายเจลพอลิเมอร์มีเปอร์เซ็นต์ไอโอดีนคงอยู่ (83.09 ถึง 94.25%) มากกว่าการใช้เจลแป้งข้าวทั้ง 2 ชนิด(Recovery เท่ากับ 61.21 ถึง 86.89%) ส่วนข้าวแพร่ 1 ที่เคลือบด้วย เจลแป้งข้าวทั้ง 2 ชนิด มีเปอร์เซ็นต์ไอโอดีนคงอยู่ (82.63 ถึง 99.01%) มากกว่าข้าวที่เคลือบด้วยการใช้สารละลายเจลพอลิเมอร์ (Recovery เท่ากับ 77.95 ถึง 88.34%) และจากการทดสอบทางประสาทสัมผัสของข้าวเคลือบทั้ง 2 พันธุ์ พบว่าข้าวที่เคลือบด้วย เจลแป้งข้าวทั้ง 2 ชนิด มีคะแนนเฉลี่ยทางประสาทสัมผัสด้านความชอบรวมสูงกว่าข้าวที่เคลือบด้วยสารละลายเจลพอลิเมอร์en_US
dc.description.abstractalternativeThis research investigated the possibilities of fortification of iodine in rice by spraying aqueous Kl on to rice plants and by coating the rice with hydrocolloids. The first experiment compared the methods for the determination of iodine between macro scale and micro scale technique. The macro scale gave higher recovery (85.99%) of iodine than micro scale (76.70%). Determination of iodine in milk samples by macro scale technique had a precision and accuracy of 5.70% and 94.69%, respectively. Experiment on the effect of levels of nitrogen fertilizer (0, 16 and 32 kgN/rai) and spraying Kl periods (spraying at tillering stage and panicle initiation stage) on two rice cultivars (Klongluang 1 and Prae 1) showed that nitrogen and protein contents of the rice cultivars (husked rice and milled rice) were increased. Spraying Kl significantly (p ≤ 0.01) increased nitrogen contents in husked rice of both varieties, iodine content in husked rice were 6.62 to 7.23 Ug/100g rice (dwb) and in milled rice were 4.89 to 5.04 Ug/100g rice (dwb). Klongluang 1 rice contained higher iodine content than Prae 1 rice. Fortification of iodine in rice by coating with two types rice flour gel and one mixed polymer gel (methylceliulose and hydoxypropylmethylcellulose) at three concentrations (1,3 and 5% w/w) were examined. It was found that Klongluang 1 and Prae 1 coated with the polymer gel at 3 and 5% levels contain higher iodine content (40.37 and 47.93 Ug/100g dwb, respectively) than rice coated with rice flour gels. Effect of rinsing on iodine content of coated rices were also studied. It was found that Klongluang 1 coated with the polymer gel resulted in more iodine recovery (83.09 to 94.25%) than coated with both rice flour gels (61.21 to 86.89%recovery), while Pae 1 coated with both rice flour gels showed highest iodine recovery. The sensory evaluation of cooked rice revealed that coated rice with rice flour gels had better score in acceptance than coated rice with polymer gel.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectข้าวen_US
dc.subjectject ข้าว ไอโอดีนen_US
dc.subjectข้าว -- ไอโอดีนen_US
dc.titleประสิทธิภาพการเสริมไอโอดีนในข้าวen_US
dc.title.alternativeEfficiency of iodine fortification of riceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางอาหารen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chutima_au_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.07 MBAdobe PDFView/Open
Chutima_au_ch1_p.pdfบทที่ 1649.24 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_au_ch2_p.pdfบทที่ 21.55 MBAdobe PDFView/Open
Chutima_au_ch3_p.pdfบทที่ 3898 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_au_ch4_p.pdfบทที่ 41.52 MBAdobe PDFView/Open
Chutima_au_ch5_p.pdfบทที่ 5963.04 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_au_ch6_p.pdfบทที่ 6648.14 kBAdobe PDFView/Open
Chutima_au_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.