Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำเภา วรางกูร-
dc.contributor.authorอุทัย บุญประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-03-01T09:21:19Z-
dc.date.available2021-03-01T09:21:19Z-
dc.date.issued2514-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72494-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2514en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้เป็นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสถานภาพและความต้องการเทคโนโลยีทางโสตทัศนศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทยข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการวิจัยนี้ได้จากอาจารย์ที่ทำการสอนในมหาวิทยาลัยต่างๆ และจากเจ้าหน้าที่โสตทัศนศึกษาที่มีอยู่ในสถายันต่างๆ ในมหาวิทยาลัยที่อยู่ในโครงการวิจัยเครื่องมือสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามจำนวน 2 ชุด ในการวิจัยครั้งนี้ได้ตั้งสมมุติฐานเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการวิจัยดังต่อไปนี้ 1. มหาวิทยาลัยต่างๆ มีความต้องการในการส่งเสริมและปรับปรุงงานที่เกี่ยวกับสื่อการสอนหรืองานโสตทัศนศึกษาตลอดจนบริการที่เกี่ยวข้อง 2. ความต้องการด้านต่างๆ ที่เกี่ยวกับสื่อการสอนของอาจารย์ไม่มีความแตกต่างกัน 3. ความต้องการของเจ้าหน้าที่โสตทัศนศึกษาและหน่วยงานโสตทัศนศึกษาต่างๆ ไม่มีความแตกต่างกัน ลำดับขั้นที่สำคัญสำหรับดำเนินการศึกษามีดังต่อไปนี้: ศึกษาค้นคว้ารายงานการวิจัยจากเอกสาร ตำราและรายงานการวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและมีอยู่ สร้างเครื่องมือสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลแล้วสรุปผลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมุลประกอบด้วยจำนวนความถี่ อัตราค่าร้อยละ อัตราค่าเฉลี่ยและเปรียบเทียบความแตกต่างด้วย t-test ผลของการวิจัยปรากฎว่าเป็นไปตามสมมุติฐานที่วางไว้แต่ต้นทุกประการและได้พบว่างานโสตทัศนศึกษาในมหาวิทยาลัยต่างๆ มีไม่เพียงพอที่จะอำนวยบริการแก่อาจารย์ หน่วยงานที่มีอยู่แล้ว ไม่สามารถดำเนินบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพมหาวิทยาลัยต่างๆ ยังขาดแคลนอุปกรณ์สื่อการสอนประเภทต่างๆ เป็นจำนวนมาก ความต้องการบริการงานโสตทัศนศึกษาทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและระดับคณะของบรรดาอาจารย์ต่างๆ อยู่ในเกณฑ์สูงมาก อาจารย์ต้องการวัสดุอุปกรณ์หรือสื่อการสอนประเภทฉายมากที่สุด ผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะไว้ว่า 1. ผู้บริหารมหาวิทยาลัยควรจะเพิ่มความสนใจส่งเสริมงานโสตทัศนศึกษา สื่อใหม่ๆ ทางการศึกษาและเทศโนโลยีทางการเรียนการสอนซึ่งสามารถอำนวยประโยชน์ต่อการดำเนินการศึกษา 2. มหาวิทยาลัยทุกแห่งควรจัดให้มีหน่วยงานโสตทัศนศึกษากลางของมหาวิทยาลัย 3. สภาการศึกษาน่าจะสนับสนุนให้มีหน่วยงานเฉพาะที่ทำหน้าที่และให้บริการเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนใหม่ๆ ติดตามความเคลื่อนไหวใหม่ๆ ในวงการเรียนการสอนระดับมหาวิทยาลัย เผยแพร่แนวความคิดใหม่ๆ ในการดำเนินการเรียนการสอนแก่มหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศไทย 4. การศึกษาวิจัยในทำนองเดียวกับการวิจัยนี้น่าจะได้รับการส่งเสริมให้กระทำทุก 3 ปี หรือ 5 ปี จะเป็นการช่วยประเมินสถานภาพและความต้องการเทคโนโลยีทางการเรียนการสอนของระบบมหาวิทยาลัยของประเทศไทยและถ้าสามารถส่งเสริมให้ทำการศึกษาเจาะลึกซึ้งในแต่ละมหาวิทยาลัยได้ ก็จะอำนวยประโยชน์ได้มากยิ่งขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThis research was designed to investigate the status of and the demand for audio-visual educational technology in some universities in Thailand. The data needed were collected from groups of lecturers and from anyone who is in charge of the audio-visual program at his or her institution by using two forms of questionnaires. It is hypothesized that 1) the audio-visual program at each institution needs improvement 2) there are no differences in the demand for instructional media among groups of lecturers 3) there are no differences in demand among the audio-visual units. The stepwise undertaken to attempt this conduct are as follows the survey studies from available references and texts were conducted before the construction of the research instrument. Then the replies in the questionnaire-from previously circulated to each sample of the existing staff in various faculties were analyzed; all obtained data were processed; and the conclusion was reached by means of frequency, percentage, average values and t-test of differences among groups. The result revealed that all hypotheses were proved. At present, audio-visual services in universities are insufficient. They are running short of varieties of instructional media. All audio-visual units in each university need improvement. The needs for services and activities from audio-visual units at both university level and faculty level are shown at high rate. The highest rate of demand for instructional media rests on projected materials and equipments. The author has recommended that: 1. Universities administrators should pay more attention to the audio-visual program, new instructional medias and instructional technology which yield efficiency in education. 2. A university audio-visual center at each university should be set up. 3. A special organization concerning instructional technology at the university level should be founded, under the National Education Council’s patronage, to perform needed activities and give services to all universities in Thailand. 4. Such a kind of study like this done at every 3 years or 5 years will help to evaluate the status of and the demand for instructional technology of the university system as a whole, and if possible a special study in each certain university will yield more efficiency.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1971.7-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโสตทัศนศึกษา -- ไทย-
dc.subjectเทคโนโลยีทางการศึกษา -- ไทย-
dc.subjectสื่อการสอน -- ไทย-
dc.subjectAudio-visual education -- Thailand-
dc.subjectEducational technology -- Thailand-
dc.subjectTeaching -- Aids and devices-
dc.titleสภาพและความต้องการเทคโนโลยีทางโสตทัศนศึกษาระดับมหาวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeStatus of and the demand for audio-visual educational technology in universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1971.7-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Uthai_bo_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.22 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_bo_ch1_p.pdfบทที่ 12.16 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_bo_ch2_p.pdfบทที่ 23.31 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_bo_ch3_p.pdfบทที่ 31.03 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_bo_ch4_p.pdfบทที่ 42.31 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_bo_ch5_p.pdfบทที่ 51.39 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_bo_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.