Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72502
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประโมทย์ อุณห์ไวทยะ-
dc.contributor.authorชูลิต มีสัจจี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-03-02T01:41:47Z-
dc.date.available2021-03-02T01:41:47Z-
dc.date.issued2511-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72502-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2511en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่องนี้เขียนขึ้นเพื่อศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการสร้างและตรวจสอบคุณสมบัติของ Electrical Porcelain Insulator โดยใช้วัตถุดิบจากแหล่งต่างๆ ที่มีอยู่ในประเทศไทยส่วนวัตถุดิบบางอย่างซึ่งเป็นองค์ประกอบย่อยเช่น Feldspar Talc, Magnesium Carbonate และ Barium Carbonate ใช้ของที่มาจากต่างประเทศ (ญี่ปุ่น) Commercial grade การสร้าง bodies เพื่อทำการทดสอบนี้แบ่งออกเป็น ๒ พวก พวกที่หนึ่งโดยการสมมุติส่วนผสมของ Electrical Porcelain ขึ้นมาอันหนึ่งเรียกว่า Standard body แล้วก็เปลี่ยนแปลงส่วนผสมเพื่อหา body ที่ให้ Optimum Electrical Porcelain properties อีกพวกหนึ่งได้แก่การเอาดินขาวที่มีคุณสมบัติคล้าย Theoretical Kaolin และคล้าย Ball clay จากแหล่งต่างๆ ที่พบในประเทศไทยมาใช้แทนส่วนผสมของ Kaolin และ Ball clay ที่มีอยู่ใน Standard body Bodies ต่างๆ ดังกล่าวแล้วข้างต้นนี้สร้าง, ขึ้นแบบและเผา กระทำที่ Ceramic Lab. ของคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ส่วนการตรวจสอบคุณสมบัติทาง Mechanical และ Electrical Properties กระทำที่ห้อง Lab. ของ แผนกวิศวกรรมโยธา และ High Voltage Lab. ของแผนกวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลของการทดลองปรากฎว่า Electrical Porcelain ที่สร้างขึ้นโดยใช้วัตถุดิบจากแหล่งต่างๆ ที่พบในประเทศไทยส่วนมากมีคุณสมบัติทาง Mechanical และ Electrical สูงกว่าค่า Minimum requirement ตามมาตรฐานของประเทศเยอรมันนีว่าด้วยการทดสอบคุณสมบัติของ Electrical Porcelain (VDE 0335/7. 56) ความเนียนของเนื้อและสีของ fired bodies รู้สึกจะด้วยกว่าของที่ผลิตมาจากต่างประเทศทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ processes ของการผลิตเป็นส่วนใหญ่การมีสีไม่ขาวสะอาดเหมือนผลิตภัณฑ์ที่มาจากต่างประเทศอาจจะเป็นเพราะว่ามีเปอร์เซนต์ของเหล็กเจือปนอยู่ในเนื้อของ bodies มาก การเผาที่ไม่เป็นแบบ Reduction และมี Impurities อื่นๆ ปนอยุ่-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1968.6-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฉนวนไฟฟ้า -- เครื่องเคลือบดินเผา-
dc.titleการค้นคว้าเกี่ยวกับการสร้างฉนวนไฟฟ้าที่ทำด้วยกระเบื้องเคลือบen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1968.6-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Cholit_Me_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ917.42 kBAdobe PDFView/Open
Cholit_Me_ch0_p.pdfคำนำ667.05 kBAdobe PDFView/Open
Cholit_Me_ch1_p.pdfความรู้ทั่วไปทางด้านทฤษฎี1.86 MBAdobe PDFView/Open
Cholit_Me_ch2_p.pdfBody composition790.78 kBAdobe PDFView/Open
Cholit_Me_ch3_p.pdfExperimental procedure1.32 MBAdobe PDFView/Open
Cholit_Me_ch4_p.pdfคุณสมบัติที่จะ tests1.31 MBAdobe PDFView/Open
Cholit_Me_ch5_p.pdfExperimental and calculated data3.99 MBAdobe PDFView/Open
Cholit_Me_ch6_p.pdfผลของการทดลอง2.82 MBAdobe PDFView/Open
Cholit_Me_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.