Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72924
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นเรศร์ จันทร์ขาว | - |
dc.contributor.author | เดวิช บรรเทา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-24T09:47:16Z | - |
dc.date.available | 2021-03-24T09:47:16Z | - |
dc.date.issued | 2535 | - |
dc.identifier.isbn | 9745817783 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72924 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการใช้เทคนิคการกระเจิงกลับของรังสีเบตาในการหาส่วนผสม ของโลหะผสมสองธาตุ ได้เลือกใช้ต้นกำเนิดรังสีเบตาพลังงานสูงคือ สตรอนเซียม -90 /อิตเทรียม-90 เพื่อให้ ได้ความเข้มของรังสีเบตากระเจิงกลับสูงและเพื่อลดความแปรปรวนของผลการวัดเกี่ยวกับความ ไม่เรียบของผิวตัวอย่าง จากผลการวิจัยพบว่าความหนาของตัวอย่างประมาณ 250 มิลลิกรัมต่อตาราง เซนติเมตรขึ้นไป จะให้ความเข้มรังสีเบตากระเจิงกลับอิ่มตัว เมื่อทดลองใช้เทคนิคนี้กับตัวอย่างโลหะ ผสมตะกั่ว-ดีบุกที่ได้จากโรงงานผลิตพบว่า ความเข้มของรังสีเบตากระเจิงกลับมีค่าเพิ่มขึ้นตามปริมาณ ตะกั่วในตัวอย่าง และยังได้พบว่าเมื่อใส่แผ่นอะลูมิเนียมสำหรับกรองรังสีเบตาไว้หน้าหัววัดไกเกอร์-มูลเลอร์ ทำให้ความไวเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ จากการหาปริมาณตะกั่วในตัวอย่างโลหะผสมตะกั่ว-ดีบุก 22 ตัวอย่าง พบว่าได้ผลใกล้เคียงกับผลที่ได้จากวิธีการเรื่องรังสีเอกซ์ วิธีอะตอมมิกแอบซอร์บขัน และวิธีหาความถ่วงจำเพาะโดยพบว่าความเที่ยงตรงของวิธีนี้มีค่าประมาณ +0.5% ในขณะที่ความแม่นยําขึ้นอยู่กับตัวอย่าง มาตรฐานที่ใช้ในการปรับเทียบและความเป็นเนื้อเดียวกันของตัวอย่าง | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to investigate the use of beta backscattering technique for determining elemental composition of binary alloys. A high energy beta source, Sr-90/Y-90, was selected to be used in this research so as to obtain high percentage of beta backscattered intensity and to miminize the uncertainty due to sample surface roughness. It was found that the sample thickness from about 250 mg/cm2 would give the saturation backscattered intensity. The technique was tested with lead-tin alloy samples from factories and it was found that the beta backscattered intensity increased with increasing lead content in the sample. It was also found that the sensitivity can be improved significantly by placing an aluminum filter in front of the GM tube. Lead contents in 22 lead-tin alloy samples obtained from this technique were in good agreement with those obtained from the XRF, the atomic absorption and the specific gravity methods. The precision of this technique were found to be about +0.5% while the accuracy depended upon the standards used for calibration and the homogeneity of the samples. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | รังสีเบตา | en_US |
dc.subject | โลหะผสม | en_US |
dc.subject | Beta rays | en_US |
dc.subject | Alloys | en_US |
dc.title | การหาปริมาณโลหะผสมสองธาตุบางชนิดด้วยเทคนิคการกระเจิงกลับ ของรังสีเบตา | en_US |
dc.title.alternative | Determination of some binary alloy compositions using beta backscattering technique | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิวเคลียร์เทคโนโลยี | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Davich_ba_front_p.pdf | 918.77 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Davich_ba_ch1_p.pdf | 714.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Davich_ba_ch2_p.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Davich_ba_ch3_p.pdf | 974.38 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Davich_ba_ch4_p.pdf | 1.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Davich_ba_ch5_p.pdf | 783.19 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Davich_ba_back_p.pdf | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.