Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73407
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผ่องศรี จั่นห้าว-
dc.contributor.advisorทวีวงศ์ ศรีบุรี-
dc.contributor.authorวรเวชช์ อ่อนน้อม-
dc.date.accessioned2021-05-17T04:06:21Z-
dc.date.available2021-05-17T04:06:21Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741311826-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73407-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยเลือกพื้นที่โครงการสะพานพระราม 8 เป็นกรณีศึกษา ในการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้เลือกศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3 ด้าน คือ ผลกระทบด้านเสียง การใช้ที่ดินและทัศนียภาพ ซึ่งเป็นผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมที่สำคัญจากการจราจรที่หนาแน่นในกรุงเทพฯ และมักไม่ได้รับการแก้ไข ประชาชนในพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบต้องอยู่ในสภาวะจำยอมการประเมินผลกระทบเพื่อป้องกันปัญหาตั้งแต่ก่อนดำเนินโครงการใช้จึงเป็นสิ่งสำคัญ ในการศึกษาผลกระทบด้านเสียงใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของ FHWA พบว่า เดิมก่อนมีโครงการค่าระดับเสียง คือ 79 เดซิเบส(เอ) และจากการคาดการณ์ระดับเสียงของโครงการสะพานพระราม 8 เมื่อเปิดให้มีการจราจรแล้ว จะมีระดับเสียงสูงสุดบริเวณรีมขอบเส้นทางของโครงการประมาณ 88 เดซิเบส(เอ) ซึ่งสูงขึ้น 9 เดซิเบส(เอ) ในการประเมินผลกระทบการใช้ที่ดินโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ พบว่า การใช้ที่ดินบริเวณพื้นที่โครงการฯ จะได้รับผลกระทบจากเสียงเมื่อโครงการฯ เปิดใช้ จากการวางซ้อนของแผ่นข้อมูลแผนที่พบว่า พื้นที่ 2 ข้างทางโครงการฯในระยะ 75 เมตรจะได้รับผลกระทบจากเสียง ส่วนใหญ่มีกิจกรรมที่ไวต่อการรับผลกระทบจากเสียง เช่น ที่อยู่อาศัย สถาบันศาสนา สถานพยาบาล และโรงเรียน ส่วนการประเมินผลกระทบด้านทัศนียภาพจากโครงการฯ พบว่าการออกแบบโครงสร้างสะพานให้เป็นแบบอสมาตร เพื่อลดการบดบังทัศนีย ภาพและรูปแบบที่สวยงามของสะพานทำให้ไม่เกิดผลกระทบด้านลบต่อมุมมอง สรุปคือ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถนำมาเป็นเครื่องมือที่เพิ่มประสิทธิภาพในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านเสียง การใช้ที่ดินและทัศนียภาพได้ และสามารถใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนากับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านอื่นๆ ต่อไป-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to use Geographic Information System (GIS) as a supporting tool for environmental impact assessment. The Rama VIII Bridge in Bangkok was selected as a case study. Noise, land - use, and scenery are the key issues that were considered since there are impacts directly affected the people who live around the project area. The mathematical model of Federal Highway Administration (FHWA) has been used for assessing the sound emission level of the traffic on the Bridge. The study shows that the areas impacted by the noise of traffic on the Bridge can be identified by over laying the sound contour maps on top of the land - use map. The noise sensitive areas (i.e. residential places, hospitals, schools, and temples) located in the proximity of 70 - meters away from the Bridge are impacted. The noise level in the area side of the Bridge will be increased to 88 dB(A) compared to79 dB(A) was the approximate noise level measured before the project has been established. The bridge was designed to decrease the scenery blocking of the viewers. The attractive design of the bridge also creates positive view to the viewers. In conclusion, GIS. application was a good supporting tools for environmental impact assessment. In this case, land - use type, location, and size of the impacted areas were identified quickly and effectively.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.74-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์en_US
dc.subjectการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectจราจรในเมือง -- แง่สิ่งแวดล้อม -- ไทยen_US
dc.subjectมลพิษทางเสียง -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectGeographic information systemsen_US
dc.subjectEnvironmental impact analysisen_US
dc.subjectCity traffic -- Environmental aspects -- Thailanden_US
dc.subjectNoise pollution -- Thailand --- Bangkoken_US
dc.titleระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษาโครงการสะพานพระราม 8en_US
dc.title.alternativeGeographic information system for environmental impact assessment : a case study of Rama VIII Bridgeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineภูมิศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPongsri.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorThavivongse.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.74-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worawaj_on_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ811.89 kBAdobe PDFView/Open
Worawaj_on_ch1_p.pdfบทที่ 11.14 MBAdobe PDFView/Open
Worawaj_on_ch2_p.pdfบทที่ 21.18 MBAdobe PDFView/Open
Worawaj_on_ch3_p.pdfบทที่ 3713.57 kBAdobe PDFView/Open
Worawaj_on_ch4_p.pdfบทที่ 42.15 MBAdobe PDFView/Open
Worawaj_on_ch5_p.pdfบทที่ 5694.42 kBAdobe PDFView/Open
Worawaj_on_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก855.55 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.