Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73589
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัชชัย สุมิตร-
dc.contributor.authorอุทัย ติยะวิสุทธิ์ศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-05-28T06:17:47Z-
dc.date.available2021-05-28T06:17:47Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745816248-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73589-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการวิเคราะห์ธาตุในฝันจากอากาศโดยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ใช้ทั้งระบบ WDX และ EDX การวิเคราะห์ธาตุปริมาณน้อย ได้แก่ ตะกั่ว แมงกานีส โบรมีน นิกเกิล สังกะสี เหล็ก ทิเทเนียม โครเมียม ทองแดง และกำมะถัน ด้วยระบบ WDX พบว่าขีดจํากัดในการวิเคราะห์ธาตุเหล่านี้บน กระดาษกรองเซลลูโลส (Whatman เบอร์ 41) ขนาดพื้นที่ 9.621 ตารางเซนติเมตร มีค่าเป็น 0.22 0.15 0.14 0.09 0.10 0.20 0.21 0.18 0.09 และ 2.10 ไมโครกรัม ตามลำดับ จาก การเปรียบเทียบผลวิเคราะห์ที่ได้รับกับวิธีอินดัคทีฟลิคับเปิลพลาสมาอิมิชชันสเปคโทรเมตรี และ อะตอมมิคแอบสอร์บชันสเปคโทรโฟโตเมตรี พบว่าค่าที่ได้อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับ สำหรับธาตุหลักที่เป็นส่วนประกอบของฝุ่นจากอากาศ วิเคราะห์ด้วยระบบ EDX การแก้ไข ผลรบกวนเนื่องจากแมทริกซ์ทำโดยใช้วิธีอัตราส่วนของพีคต่อค่าแบคกราวน์ นอกจากนี้ ยังศึกษาถึงการใช้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนแบบส่องกราด ที่ติดตั้งหน่วยวิเคราะห์ รังสีเอกซ์เรื่องระบบ EDX เพื่อศึกษาขนาด รูปร่าง และธาตุที่เป็นส่วนประกอบของอนุภาคฝุ่นขนาดเล็กจากอากาศ จากการวิเคราะห์ตัวอย่างฝุ่นจากอากาศ บริเวณศูนย์เครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่า ค่าเฉลี่ยของปริมาณธาตุหลักในฝุ่นเป็นดังนี้ ธาตุอะลูมิเนียม ซิลิกอน โปแตสเซียม แคลเซียม เหล็ก และกำมะถัน มีค่าเป็นร้อยละโดยน้าหนัก ตามลำดับดังนี้ 6.32 22.04 1.80 10.36 1.82 และ 4.17 สำหรับธาตุปริมาณน้อยบางธาตุ เช่น ตะกั่ว แมงกานีส โบรมีน นิกเกิล สังกะสี ทเทเนียม และทองแดง มีค่าเป็น 2.08, 0.272 0.512 0.443 3.635 1.775 และ 2.066 มิลลิกรัม ต่อ กรัม ตามลำดับ สำหรับตัวอย่างฝุ่นจากอากาศ บริเวณอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี พบว่า ค่าเฉลี่ยของปริมาณธาตุหลักในฝุ่นเป็นดังนี้ ธาตุอะลูมิเนียม ซิลิกอน โปแตสเซียม แคลเซียม เหล็ก และกำมะถัน มีค่าเป็น ร้อยละโดยน้าหนัก ตามลำดับดังนี้ 7.41 32.18 2.87 2.72 2.07 และ 2.31สำหรับธาตุปริมาณน้อยบางธาตุ เช่น ตะกั่ว แมงกานีส โบรมีน นิกเกิล สังกะสี ทเทเนียม และทองแดง มีค่าเป็น 0.486 0.551 0.428 0.523 0.205 2.944 และ 0.604 มิลลิกรัม ต่อ กรัม ตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeElemental analysis of airborne particulates by using X-ray fluorescence technique was studied by both Energy Dispersive (EDX) and Wavelength Dispersive (WDX) systems. WDX system was used to analyse trace elements such as Pb, Mn, Br, Ni, Zn, Fe, Ti, Cr, Cu and s. The detection limit of these elements on 9.621 square centimeter cellulose filter (Whatman No.41) were 0.22, 0.15, 0.14, 0.09, 0.10, 0.20, 0.21, 0.18, 0.09 and 2.10 ug respectively. Comparative results of the x-ray fluorescence and the ICP-AES and AAS were found to be acceptable values. EDX system was chosen to analyse the major elements of airborne particulates. The peak-to-background ratio method was used to correct matrix effects of varied chemical composition of samples. Additionally, scanning electron microscope with energy dispersive x-ray analyzer (ED-SEM) was used, in this work, to analyse the size, shape, and chemical composition of micro-particle in airborne particulates. Field measurements were carried out in urban area (at Scientific and Technological Research Equipment Centre, Chulalongkorn University, Bangkok). Average chemical composition of airborne particulates in this area for major elements Al, Si, K, Ca, Fe and S were 6.32, 22.04, 1.80, 10.36, 1.82 and 4.17 % by weight respectively, and those for some trace elements Pb, Mn, Br, Ni, Zn, Ti and Cu were 2.084, 0.272, 0.512, 0.443, 3.635, 1.775 and 2.066 mg/g respectively. In Amphoe Sriracha Chon-buri province, the average chemical composition of airborne particulates for major elements Al, Si, K, Ca, Fe and S were 7.41, 32.18, 2.87, 2.72, 2.07 and 2.31 % by weight respectively, and those for some trace elements Pb, Mn, Br, Ni, Zn, Ti and Cu were 0.486, 0.551, 0.428, 0.523, 0.205, 2.944 and 0.604 mg/g respectively.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฝุ่น -- การวิเคราะห์en_US
dc.subjectรังสีเอกซ์en_US
dc.subjectDust -- Analysisen_US
dc.subjectX-raysen_US
dc.titleการวิเคราะห์ธาตุในฝุ่นจากอากาศโดยใช้เทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์en_US
dc.title.alternativeElemental analysis of airborne particulates using x-ray fluorescence technequeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTatchai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Uthai_ti_front_p.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_ti_ch1_p.pdf779.62 kBAdobe PDFView/Open
Uthai_ti_ch2_p.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_ti_ch3_p.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_ti_ch4_p.pdf1.49 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_ti_ch5_p.pdf6.67 MBAdobe PDFView/Open
Uthai_ti_ch6_p.pdf788.96 kBAdobe PDFView/Open
Uthai_ti_back_p.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.