Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73983
Title: สมบัติการดูดซับสีย้อมในน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรมสิ่งทอโดยใช้แร่ดินร่วมกับสารจับก้อนเคมี
Other Titles: Adsorption property of mixture of clay-minerals and chemical coagulants on dyestuffs in wastewater from textile industry
Authors: วิมลโรจน์ โอสถานุเคราะห์
Advisors: พีรวรรณ พันธุมนาวิน
วราภรณ์ ลีพิพัฒน์ไพบูลย์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Varaporn.L@Chula.ac.th
Subjects: ดิน -- การดูดซับ
การดูดซับ
สีย้อมและการย้อมสี
การตกตะกอน
สเปกโตรสโคปี
น้ำเสีย -- การบำบัด
Issue Date: 2537
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้ที่จะศึกษาการกำจัดสีย้อม โดยใช้สมบัติการดูดซับของแร่ดินที่สามารถหาได้ในประเทศไทยได้แก่แร่ดินเบนโตไนท์และเคโอลิไนท์ และการใช้แร่ดินร่วมกับสารตกตะกอนเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดสีย้อมในสารละลายสีย้อมมาตรฐาน 6 ชนิดที่เตรียมขึ้นในห้องทดลองและตัวอย่างน้ำทิ้งจากอุตสาหกรรม สิ่งทออีก 5 ตัวอย่าง ในการทดลองนี้นำสีย้อมมาทำการทดลอง 3 ประเภทได้แก่ ดีสเพิส, ไดเร็กท์ และรีแอกทีฟ ประเภทละ 2 โทนสี คือ สีแดงและสีน้ำเงิน โดยทำการศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้คือ อิทธิพลของค่าพีเอชที่มีต่อสารละลายสีย้อมมาตรฐาน, สารตกตะกอน, แร่ดิน และปริมาณที่เหมาะสมของสารตกตะกอน, แร่ดิน และชนิดของสารตกตะกอนร่วมที่เหมาะสมกับแร่ดิน จากผลการทดลอง พบว่าสารตกตะกอนที่สามารถตกตะกอนได้ดีที่สุดเมื่อปรับค่าพีเอชให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม ได้แก่ อะลัม ส่วนแร่ดินที่สามารถทำการดูดซับได้ดีที่สุดได้แก่ แร่ดินเบนโตไนท์ และพบว่า ค่าพีเอชไม่มีผลต่อการดูดซับของแร่ดิน
Other Abstract: This research is intended to investigate the adsorption property of clay-minerals available in Thailand ie, bentonite and kaolinite, and the mixture of clay-minerals and chemical coagulants, on removal of dyestuffs from 6 dye solutions prepared in the laboratory and 5 samples of textile effluent collected from sites. In this study three kinds of dyestuffs such as an impact of pH on dye-solutions, chemical coagulants and clay-minerals were studied. Optimum dose of chemical-coagulants, clay-minerals and clay-minerals together with chemical-coagulants were determined. It was found that bentonite clay is the best adsorbent and alums are more effective coagulant than the others when they reach the optimum pH. But pH has no effect on bentonite adsorption.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73983
ISSN: 9745846279
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vimolroj_os_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.06 MBAdobe PDFView/Open
Vimolroj_os_ch1_p.pdfบทที่ 1779.61 kBAdobe PDFView/Open
Vimolroj_os_ch2_p.pdfบทที่ 21.57 MBAdobe PDFView/Open
Vimolroj_os_ch3_p.pdfบทที่ 31.06 MBAdobe PDFView/Open
Vimolroj_os_ch4_p.pdfบทที่ 42.92 MBAdobe PDFView/Open
Vimolroj_os_ch5_p.pdfบทที่ 5628.48 kBAdobe PDFView/Open
Vimolroj_os_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.