Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74003
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มานพ วราภักดิ์ | - |
dc.contributor.author | นภาพร สีมาเงิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-06-22T08:52:47Z | - |
dc.date.available | 2021-06-22T08:52:47Z | - |
dc.date.issued | 2536 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74003 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าแบบช่วงสำหรับสัดส่วนประชากร บนพื้นฐานของการประมาณด้วยการแจกแจงแบบปกติ โดยการเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น และค่าความยาวเฉลี่ยของช่วงความเชื่อมั่นของแต่ละวิธีการประมาณวิธีการประมาณที่ใช้การวิจัยครั้งนี้คือ วิธีการประมาณอย่างง่าย วิธีการประมาณด้วยรากของสมการกำลังสอง และ วิธีการประมาณด้วยตัวประมาณเบส์โดยเชน กำหนดขนาดตัวอย่าง n เป็น 1 ถึง 50 และค่าสัดส่วนประชากร p มี 2 ระดับคือ ระดับ 1 p มีค่าตั้งแต่ 0.01 ถึง 0.09 โดยค่า เพิ่มขึ้นทีละ 0.01 ระดับ 2 p มีค่าตั้งแต่ 0.10 ถึง 0.50 โดยค่า เพิ่มขึ้นทีละ 0.05 และกำหนดค่าระดับความเชื่อมั่นเท่ากับ 90%, 95% และ 99% ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้จากการจำลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โล และทำการทดลองซ้ำ ๆ กัน 2,000 ครั้ง ในแต่ละสถานการณ์ที่กำหนด ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ช่วงความเชื่อมั่นของวิธีการประมาณด้วยรากของสมการทำลังสอง จะให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นไม่ต่ำกว่าค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นที่ทำการทดลองคือ 90%, 95% และ 99% ได้ในทุกค่าสัดส่วนประชากร p ที่กำหนด เมื่อขนาดตัวอย่างมีขนาดปานกลาง (n ≥ 30) 2. ช่วงความเชื่อมั่นของวิธีการประมาณด้วยตัวประมาณเบส์โดยเชน จะให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นไม่ต่ำกว่าค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นที่ทำการทดลองคือ 90%, 95% และ 90% และให้ค่าความยาวเฉลี่ยของช่วงความเชื่อมั่นต่ำที่สุดได้ในทุกขนาดตัวอย่างที่กำหนด เมื่อค่าสัดส่วนประชากรมีค่าเล็กมาก (p < 0.02) 3.เมื่อขนาดตัวอย่างใหญ่ (n >⁄ 50) และค่าสัดส่วนประชากรอยู่ในช่วง 0.40 ≤ p ≤ 0.50 วิธีการประมาณทั้ง 3 วิธีที่นำมาศึกษาจะให้ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นไม่ต่ำกว่าค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นที่ทำการทดลองคือ 90%, 95% และ 99% และให้ค่าความยาวเฉลี่ยของช่วงความเชื่อมั่นใกล้เคียงกัน | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study is to compare the interval estimation methods for the population proportion based on normal distribution by comparing their confidence coefficients and average confidence interval lengths. The estimation methods under consideration in this study are Classical method, Root of Quadratic Equation method, and Bayesian Estimation method by Chen. The value of n ranging from 1 to 50, p ranging from 0,01 to 0.09 increasing by 0.01, and p ranging from 0.10 to 0.50 increasing by 0.05, all of which are considered at confidence coefficients 90%, 95%, and 99%, respectively. The experimentation data were generated through the Monte Carlo Simulation technique. The experiment was repeated 2,000 times under each case. The conclusions of this study are as follows: 1. The confidence coefficients of the Root of Quadratic Equation method are not lower than the given confidence coefficient values 90%, 95%, and 99% for all p’s and medium sample size (n ≥ 30). 2. The confidence coefficients of the Bayesian Estimation method by Chen are not lower than the given confidence coefficient values 90%, 95%, and 99%, and p < 0.02. 3. In case large sample size (n ≥ 50) and 0.40 ≤ p ≤ 0.50, the confidence coefficients of all three estimation methods are not lower than the given confidence coefficient values 90%, 95%, and 99%, and their average confidence interval lengths are approximately equal. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การแจกแจง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น) | en_US |
dc.subject | ทฤษฎีการประมาณค่า (สถิติ) | en_US |
dc.subject | Distribution (Probability theory) | en_US |
dc.subject | Estimation theory | en_US |
dc.title | การเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าแบบช่วงสำหรับสัดส่วนประชากรโดยใช้การแจกแจงแบบปกติ | en_US |
dc.title.alternative | A comparison on interval estimation methods for population proportion based on normal distribution | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สถิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | สถิติ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Napaporn_se_front_p.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Napaporn_se_ch1_p.pdf | 828.33 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Napaporn_se_ch2_p.pdf | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Napaporn_se_ch3_p.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Napaporn_se_ch4_p.pdf | 5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Napaporn_se_ch5_p.pdf | 978.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Napaporn_se_back_p.pdf | 933.61 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.