Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74236
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์-
dc.contributor.authorสุจิตรา รัตนกรกช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-01T02:41:38Z-
dc.date.available2021-07-01T02:41:38Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745773255-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74236-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและจำแนกประเภทปัญหาสังคมที่นำเสนอในภาพยนตร์ โฆษณาส่งเสริมสังคม, หน้าที่ทางสังคมและรูบแบบการจูงใจในภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคม กลุ่มประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคมที่จัดทำขั้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519-2531 จำนวน 200 เรื่อง จากการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการบันทึกภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคมทั้งหมดทั้งหมดลงในเทปวีดีโอ ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาสังคมที่ปรากฏในภาพยนตร์โฆษณาาส่งเสริมสังคม มีจำนวน 13 ปัญหา ได้แก่ ปัญหาความแห้งแล้ง ปัญหาด้านพลังงาน ปัญหาสิทธิของผู้บริโภค ปัญหาการคอรัปชั่น ปัญหาประชากร ปัญหาคนพิการ ปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ปัญหาสิ่งเสพติด ปัญหาสิ่งแวดล้อมแสะทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหา สุขภาพอนามัยและโรคภัยไข้เจ็บ ปัญหาอาชญากรรมและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัญหาการจราจร และปัญหาด้านศีลธรรม วัฒนธรรม แสะจิตใจ โดยนำเสนอปัญหาด้านศีลธรรม วัฒนธรรมและจิตใจเป็นจำนวนมากที่สุด ขณะเดียวกันผู้โฆษณาที่จัดทำภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคมมากที่สุด คือ หน่วยงานภาครัฐบาล นอกจากนี้ ยังพบว่า ประเภทปัญหาสังคมและจำนวนภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคมมีปริมาณเพิ่มขึ้นเป็นลำดับตลอดมา สำหรับเนื้อหาหลักของภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมซึ่งอาศัยแนวคิดหน้าที่ทางสังคมเป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์พบว่า ภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคมนำเสนอเนื้อหาหลักด้านการอบรม ขัดเกลา สั่งสอนและ แนะนำสมาชิกให้รู้จักกฎเกณฑ์และระเบียบของสังคม ตลอดจนการถ่ายทอดวัฒนธรรม ประเพณี และค่านิยม สู่คนรุ่นใหม่มากที่สุด โดยภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคมส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์การโฆษณาเพื่อรณรงค์ เผยแพร่ปัญหาสังคมเพื่อประโยชน์ส่วนรวม และเกินกว่าครึ่งของภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคมทั้งหมดนิยม ใช้รูปแบบการจูงใจที่เน้นถึงความรู้สึกเพื่อโน้มน้าวใจผู้บริโภคมากที่สุด-
dc.description.abstractalternativeThis study is the analysis of Public Service Advertising. Two hundred pieces of Public Service Advertising Campaigned during 1976-1988 were used for the analysis. Findings show that there were 13 social problems presented in Public Service Advertising Campaigns. They were drought, energy problems, consumer rights problem, corruption, over-population, the malnutrition, handicaped, environmental and natural resources problems, and moral, cultural and ethical problem. Problems presented the most in Public Service Advertising Campaigns is moral cultural and ethical problem. The number of categories and the quantity of Public Service Advertising Campaigns increased from 1976-1988. Social function presented the most in Public Service Advertising Campaigns is Socialization, education, transmission of cultural, traditional beliefs and values to the net generation. Most Public Service Advertising Campaigns' were aimed to social problems to the public and more than half of Public Service Advertising Campaigns applied approach emphasizing feeling aspects and emotional persuasive.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectภาพยนตร์โฆษณาen_US
dc.subjectปัญหาสังคมในภาพยนตร์en_US
dc.subjectโฆษณา -- แง่สังคม -- ไทยen_US
dc.subjectMotion pictures in advertisingen_US
dc.subjectSocial problems in motion picturesen_US
dc.subjectAdvertising -- Social aspects -- Thailanden_US
dc.titleการวิเคราะห์ภาพยนตร์โฆษณาส่งเสริมสังคม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519-2531en_US
dc.title.alternativeAnalysis of public service advertisting flim from 1976-1988en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorThiranan.A@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchitra_ra_front_p.pdf973.76 kBAdobe PDFView/Open
Suchitra_ra_ch1_p.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Suchitra_ra_ch2_p.pdf2.81 MBAdobe PDFView/Open
Suchitra_ra_ch3_p.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open
Suchitra_ra_ch4_p.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Suchitra_ra_ch5_p.pdf2.91 MBAdobe PDFView/Open
Suchitra_ra_ch6_p.pdf877.15 kBAdobe PDFView/Open
Suchitra_ra_back_p.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.