Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74420
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เพ็ญพักตร์ อุทิศ | - |
dc.contributor.author | สมหมาย ปัสสา | - |
dc.date.accessioned | 2021-07-11T11:51:31Z | - |
dc.date.available | 2021-07-11T11:51:31Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74420 | - |
dc.description | สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาโครงการศึกษาอิสระเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยเอดส์ที่เข้าโครงการรับการรักษาด้วยยาด้านไวรัสก่อนและหลังได้รับการให้คำปรึกษากลุ่มครอบครัวมี ส่วนร่วมที่เน้นแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเอดส์ที่เข้า โครงการยาต้านไวรัสเอดส์ จำนวน 20 คน ได้รับจากการคัดเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติจาก ผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์ฯ จังหวัดสมุทรปราการ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ โปรแกรมการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มที่เน้นการพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม ซึ่งพัฒนามาจากทฤษฎีบุคลิกภาพแบบ A-B-C ของ Ellis (1961) ผ่านการตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน กำกับการศึกษาโดยใช้แบบประเมินความคิด อัตโนมัติด้านลบของ Hollon and Kendall (1980) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบวัดภาวะซึมเศร้าด้วย ตนเองของ Beck (Beck Depression Inventory) ซึ่งเครื่องมือ 2 ชุดหลัง มีค่าความเที่ยงโดยใช้ สัมประสิทธิ์อัลฟา ตามวิธีของครอนบราค เท่ากับ 0.81 เท่ากัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าก่อนและหลังการดำเนินโครงการโดยใช้สถิติทดสอบที (Dependent t-test) ผลการศึกษาที่สำคัญ มีดังนี้ ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังให้คำปรึกษากลุ่มครอบครัวมีส่วนร่วมที่เน้นแนวคิดพิจารณา เหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม คะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยเอดส์ที่เข้าโครงการรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส มีค่าตํ่ากว่าค่อนให้คำปรึกษา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ< .0 5 ( X =19.2 แ ล ะ25.2 ตามลำดับ, t = 7.86) | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this independent study project was to compare depression of AIDS patient register to antiretroviral drugs therapy program before and after receiving a group counseling emphazising rational emotive behavior model. The sample of 20 depressed AIDS patient who registered to antiretroviral drugs therapy program and met the inclusion criteria were recruited from out- patient department, Prasamutjedee hospital, Samutprakam province. The instruments used in this study was the program on counseling emphazising rational emotive behavior model which was developed based on A-B-C personality theory of Ellis (1961). It was validated by 3 professional experts. The Automatic Thoughts Questionaire(Hollon and Kendall, 1980) was used to monitor the study intervention. Data was collected using the modified Beck Depression Inventory. The two latter instruments had the same Cronbach’s Alpha coefficient reliability as of .81. The study data were analyzed using percentage, mean and standard deviation. Dependent t - tests was used to compare mean of pretest and posttest depression scores. Major finding was as follows: The finding revealed that after using counseling emphazising rational emotive behavior model mean depression score of AIDS patients register to antiretroviral drugs therapy program was significantly lower than that before at p< .0 5 level ( X =19.2 and25.2 respectively; t = 7.86) | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ความซึมเศร้า -- ไทย | en_US |
dc.subject | โรคเอดส์ -- ผู้ป่วย -- ไทย | en_US |
dc.subject | การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม -- ไทย | en_US |
dc.subject | Depression -- Thailand | en_US |
dc.subject | AIDS (Disease) -- Patients -- Thailand | en_US |
dc.subject | Group counseling -- Thailand | en_US |
dc.title | การศึกษาการให้คำปรึกษากลุ่มครอบครัวมีส่วนร่วมที่เน้นแนวคิดพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยเอดส์ที่เข้าโครงการรับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสโรงพยาบาลพระสมุทรเจดีย์ฯ จังหวัดสมุทรปราการ | en_US |
dc.title.alternative | A study of using family participation in group counseling emphazising rational emotive behavior model on depression of AIDS patient register to antiretroviral drugs therapy program, Prasamutjedee Hospital, Samutprakarn Province | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Penpaktr.U@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Nurse - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sommai_pa_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 869.23 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sommai_pa_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 1.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sommai_pa_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 2.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sommai_pa_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 2.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sommai_pa_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 738.07 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sommai_pa_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sommai_pa_back_p.pdf | รายการอ้างอิงและภาคผนวก | 2.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.