Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74595
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพีระ จิรโสภณ-
dc.contributor.authorดวงใจ เสกธีระ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-07-20T10:05:21Z-
dc.date.available2021-07-20T10:05:21Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746380613-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74595-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องทัศนะเกี่ยวกับเสรีภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการรับรูและทัศนคติเกี่ยวกับเสรีภาพหนังสือพิมพ์ของกลุ่มนักวิชาชีพหนังสือพิมพ์ กลุ่มนักการเมือง และกลุ่มประชาชน ใช้วิธีวิจัยเชิง สำรวจ (Survey Method) สอบถามกลุ่มนักวิชาชีพจากหนังสือพิมพ์ประเภทต่าง ๆ 10 ฉบับ จำนวน 80 คน กลุ่มนักการเมืองจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ.2539 จำนวน 60 คน ส่วนกลุ่มประชาชน ศึกษาจากผู้อ่านหนังสือพิมพ์ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คน ผลการวิจัยพบวาบุคคลทั้ง 3 กลุ่มมีการรับรู้ใกล้เคียงกันว่าเสรีภาพหนังสือพิมพ์มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ต้องมีขอบเขตทั้งทางกฎหมายและทางจรรยาบรรณ โดยกฎหมายที่จะใช้ควบคุมเสรีภาพหนังสือพิมพต้องไม่เป็นอุปสรรคของการทำหน้าที่แสวงหาและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสู่ประชาชน และทุกฝ่ายยังไม่เห็นด้วยที่จะใช้เสรีภาพหนังสือพิมพ์ในการนำเสนอสิ่งที่ขัดต่อค่านิยม ประเพณี วัฒนธรรม ศีลธรรมอันดีของประชาชน รามทั้งความมั่นคงของชาติและความสงบเรียบรอยของประเทศ โดยเห็นว่าควรมีการควบคุมกันเองทางวิชาชีพ อย่างไรก็ดีกลุ่มนักการเมืองเห็นว่าหนังสือพิมพ์ควรมีองค์กรของรัฐคอยควบคุมหนังสือพิมพ์บ้าง และควร คำนึงถึงสิทธิส่วนบุคคลอย่างมาก สำหรับกลุ่มนักวิชาชีพนั้นไม่ต้องการให้รัฐแทรกแซงใด ๆ ต่อการปฏิบัติหน้าที่รายงานข้อมูลข่าวสาร นอกจากนี้จากการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 พบว่า นักวิชาชีพ นักการเมือง และประชาชน มีทัศนคติต่อเสรีภาพหนังสือพิมพ์แตกต่างกัน โดยกลุ่มนักวิชาชีพมีทัศนคติต่อเสรีภาพ หนังสือพิมพ์ในฐานะผู้ส่งสาร (speaker) คือมีความฺเห็นต่อการสื่อสารอย่างอิสระ ในเชิงบวกมากกว่ากลุ่มนักการเมืองและกลุ่มประชาชน ซึ่งเป็นเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ส่วนกลุ่มประชาชนและกลุ่มนักการเมืองมีทัศนคติตอเสรีภาพหนังสือพิมพ์ ในฐานะผู้รับสาร (listener) คือมีความเห็นต่อการรับรู้สารในเชิงบวก มากกว่ากลุ่มนักวิชาชีพ-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study are to examine and compare the perception and the attitude about freedom of the press among three groups : the practitioners, the politicians and the public. The study was designed to collect data by surveying the views of 80 practitioners of 10 newspapers, 60 politicians who were elected in the 17 November 1996 election, and 100 newspeper readers as the public group. It was found that all three groups had similar perception about freedom of the press in the positive and negative ways. They all agreed till/ freedom of the press needed to be limited by laws and professional conducts in the condition that regulations must not obstruct the role of the press. All the three groups also disagreed in using freedom of the press to harm good values, traditions, cultures and religions of the society, including the security of State. While other groups endorsed the measure of self-control, the politicians, however, supported governmental organizations to control the press’ role. Moreover, they warned the press should be seriously recognized the private right. In addition, it was found that the practitioners, the politicians and the public had the statistically significant differences (at .05 level) about attitudes on freedom of the press in terms of free .communication. The practitioners as being speaker had more positive attitude about freedom of expression than the politicians and the public, corresponding to the setting hypothesis. On the other hand, the public .and the politicians as being listeners had more positive attitude about the freedom to receive more quality information than the practitioners.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1997.373-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเสรีภาพของหนังสือพิมพ์en_US
dc.subjectจรรยาบรรณนักหนังสือพิมพ์en_US
dc.subjectFreedom of the pressen_US
dc.subjectJournalistic ethicsen_US
dc.titleทัศนะเกี่ยวกับเสรีภาพหนังสือพิมพ์ ของนักวิชาชีพ นักการเมือง และประชาชนen_US
dc.title.alternativeViewpoint of practitioners, politicians and the public on freedom of the pressen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการหนังสือพิมพ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPira.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1997.373-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Duangjai_se_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ919.66 kBAdobe PDFView/Open
Duangjai_se_ch1_p.pdfบทที่ 11.19 MBAdobe PDFView/Open
Duangjai_se_ch2_p.pdfบทที่ 23.11 MBAdobe PDFView/Open
Duangjai_se_ch3_p.pdfบทที่ 3825.05 kBAdobe PDFView/Open
Duangjai_se_ch4_p.pdfบทที่ 44.65 MBAdobe PDFView/Open
Duangjai_se_ch5_p.pdfบทที่ 51.38 MBAdobe PDFView/Open
Duangjai_se_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.