Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74896
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนี ขวัญบุญจัน | - |
dc.contributor.author | อารีรัตน์ วัฒนรุ่งเรือง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-08-13T12:54:08Z | - |
dc.date.available | 2021-08-13T12:54:08Z | - |
dc.date.issued | 2536 | - |
dc.identifier.isbn | 9745818852 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74896 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการสอนพลศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนร่วมพัฒนาการใช้หลักสูตร โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากครูพลศึกษา จำนวน 486 คน ได้รับแบบสอบถามคืนมา 448 ชุด คิดเป็นร้อยละ 90.50 นำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์โดยคิดเป็นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า โรงเรียนร่วมพัฒนาการใช้หลักสูตร ส่วนใหญ่เปิดสอนวิชาพลศึกษาในส่วนวิชาบังคับแกนตามหลักสูตร เปิดสอนวิชาพลศึกษาเป็นวิชาบังคับเลือก วิชาเลือกเสรีเปิดสอนเป็นส่วนน้อย กิจกรรมพลศึกษาที่เปิดสอนพิจารณาตามความพร้อมของโรงเรียน ทางด้านอุปกรณ์ สถานที่ จำนวนนักเรียนมีมากเกินไป ครูพลศึกษามีการเตรียมการสอนและวางแผนการสอน และมีความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรฉบับปรับปรุง ด้านพลศึกษาในระดับปานกลางมีการนิเทศทางพลศึกษาในโรงเรียน โรงเรียนส่วนใหญ่มีโรงเรียนฝึกพลศึกษาแต่ไม่เพียงพอต่อการเรียนพลศึกษา สถานที่เรียนมีเพียงพอบางกิจกรรม การประเมินผลการเรียนวิชาพลศึกษาใช้เกณฑ์ของกลุ่มโรงเรียน สำหรับปัญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่ประสบมากได้แก่ การเปิดสอนวิชาพลศึกษาเป็นวิชาเลือกเสรีนั้น จำนวนครูมีน้อยไม่เพียงพองานรับผิดชอบของครูพลศึกษามีมาก ขาดสถานที่เปลี่ยนเครื่องแต่งกายไม่มีสนามกีฬาในร่ม อุปกรณ์ทางพลศึกษาไม่เพียงพอ และเวลาที่ใช้ในการประเมินผลไม่เพียงพอ | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to investigate the state and problems in teaching physical education at the lower secondary education level in the curriculum development pilot schools. The constructed questionnaires were sent to 486 physical education teachers in the curriculum development pilot schools. The 448 questionnaires accounted for 90.50% were returned. Then the obtained data were statistically analyzed by means of percentages, means and standard deviations. It was found that: Most in the curriculum development pilot schools opened to teach core and compulsory-elective courses due to the curriculum, but free-elective courses were opened very little. The physical activities that were opened consider from readiness of equipment and place The number of students in physical education class were too many. The preparation of teaching and planning, knowledge and understanding in development physical education curriculum were moderate. There was supervision in physical education. The most of the schools had gymnasium but insufficient for physical education activities. There was sufficient teaching space for some activities. They used criterion school group for evaluation physical education. However, there had problems in teaching physical education in the following aspects: the insufficient of physical education teachers to teach free-elective physical education courses. There was too much responsibility of physical education teachers, lack of dressing rooms indoor stadim, equipment in physical education and insufficient to time – to evaluate physical education course. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พลศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
dc.subject | การสอน | - |
dc.subject | Physical education and training -- Study and teaching (Secondary) | - |
dc.subject | Teaching | - |
dc.title | สภาพและปัญหาการสอนพลศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนร่วมพัฒนาการใช้หลักสูตร | en_US |
dc.title.alternative | State and problems in teaching physical education at the lower secondary education level in the curriculum development pilot schools | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | พลศึกษา | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Areerat_va_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 964.51 kB | Adobe PDF | View/Open |
Areerat_va_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 944.35 kB | Adobe PDF | View/Open |
Areerat_va_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 991.71 kB | Adobe PDF | View/Open |
Areerat_va_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 721.49 kB | Adobe PDF | View/Open |
Areerat_va_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Areerat_va_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Areerat_va_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.