Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74949
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ เหล่าศรีสิน-
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ บุญญาศิริรัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2021-08-18T07:09:37Z-
dc.date.available2021-08-18T07:09:37Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745824992-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74949-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการศึกษาผลการตอบสนองของอวัยวะปริทันต์ต่อการใช้ยามิโนชัยคลินเฉพาะที่ (Periocline) ร่วมกับการขูดหินน้ำลายและเกลารากฟัน โดยพิจารณาจากลักษณะทางคลินิก และปริมาณและสัดส่วนประกอบของเชื้อแบคที่เรียในร่องลึกปริทันต์ การวิจัยนี้ทำในฟันรากเดียวที่มีร่องลึกปริทันต์ลึกอย่างน้อย 6 มิลลิเมตรที่อยู่ต่างจตุภาคในผู้ป่วยคนเดียวกัน โดยสุ่มแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 16 ซี่ ฟันทั้ง 2 กลุ่มจะได้รับการขูดหินน้ำลายและเกลารากฟันเหมือนกัน ในขณะที่กลุ่มทดลองจะได้รับยามิโนชัยคลินเฉพาะที่ (Periocline) ร่วมด้วยภายหลังการขูดหินน้ำลายและเกลารากฟันทันที และต่อไปอีก 3 ครั้ง สัปดาห์ละครั้ง เปรียบเทียบการตอบสนองทางคลินิกของอวัยวะปริทันต์ โดยพิจารณาจากดัชนีคราบจุลินทรีย์ ดัชนีเหงือกอักเสบความลึกของร่องลึกปริทันต์ และระดับการยึดเกาะของอวัยวะปริทันต์ นอกจากนี้ทำการศึกษาคราบจุลินทรีย์ใต้เหงือกโดยกล้องจุลทรรศน์ชนิด เพส คอนทราสท์ โดยเปรียบเทียบปริมาณเชื้อแบคทีเรียทั้งหมดและสัดส่วนประกอบของเชื้อ อันได้แก่ เชื้อรูปกลม รูปแท่งเคลื่อนที่ไม่ได้ รูปแท่งเคลื่อนที่ได้ และเชื้อสไปโรชีท ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณของเชื้อแบคทีเรียในร่องลึกปริทันต์ของกลุ่มทดลองลดลง และมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนประกอบของเชื้อแบคทีเรียไปเหมือนกับที่พบในร่องเหงือกปกติมากกว่ากลุ่มควบคุม ส่งผลให้การอักเสบลดลง ระดับความลึกของร่องลึกปริทันต์ลดลง และพบการยึดเกาะของอวัยวะปริทันต์เพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งสนับสนุนสมมติฐานที่ว่า การขูดหินน้ำลายและเกลารากฟันร่วมกับการใช้ยามิโนชัยคลินเฉพาะที่ (Periocline) ในโรคปริทันต์อักเสบจะให้ผลการตอบสนองของอวัยวะปริทันต์ที่ดีกว่าการขูดหินน้ำลายและเกลารากฟันเพียงอย่างเดียว ทั้งทางคลินิกและจุลชีววิทยา-
dc.description.abstractalternativeThe effects of local minocycline delivery as the adjunctive treatment to scaling and root planning on clinical responses and microbiological changes in periodontal pockets were investigated. Two groups of 16 single root teeth each that exhibit at least 6 millimeters probing depth and locate on different quadrant were selected from 16 periodontitis patients and randomly assigned for control and experimental groups. Scaling and root planning were performed in both groups. The experimental group received local minocycline (Periocline) drug administration immediately after scaling and root planning and repeated once a week for 3 weeks. The clinical improvement was evaluated base on plaque index, gingival index, probing pocket depth and clinical attachment level. For the microbiological changes, total bacterial count and bacterial composition in subgingival plaque were also investigated by the phase contrast microscope. The results showed that the total bacterial count and the bacterial composition of the experimental group seem to be similar to those in healthy gingival plaque than the control group. Furthermore, the experimental group indicated significant improvement in gingival inflammation, pocket depth reduction and attachment gain than the control group. Thus, these suggest that the usage of local minocycline drug adjunct with mechanical debridement in the periodontal treatment seem to be effective both clinical and microbiological responses.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรคปริทันต์ -- การรักษาen_US
dc.subjectเททราซัยคลินส์ -- ผลข้างเคียงen_US
dc.subjectเททราซัยคลินส์-
dc.subjectPeriodontal disease -- Treatment-
dc.subjectTetracyclines -- Side effects-
dc.subjectTetracyclines-
dc.titleผลของยามิโนซัยคลินเฉพาะที่ต่อการหายใจของโรคปริทันต์en_US
dc.title.alternativeEffect of local minocycline delivery on healing of periodontal diseaseen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineปริทันตศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Surasak_bo_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.02 MBAdobe PDFView/Open
Surasak_bo_ch1_p.pdfบทที่ 11.07 MBAdobe PDFView/Open
Surasak_bo_ch2_p.pdfบทที่ 22.95 MBAdobe PDFView/Open
Surasak_bo_ch3_p.pdfบทที่ 31.31 MBAdobe PDFView/Open
Surasak_bo_ch4_p.pdfบทที่ 41.23 MBAdobe PDFView/Open
Surasak_bo_ch5_p.pdfบทที่ 5923.31 kBAdobe PDFView/Open
Surasak_bo_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.