Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74983
Title: | การประยุกต์ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กราฟฟิกส์ กับการควบคุมการทำงานของเครื่อง ซี เอ็น ซี |
Other Titles: | Application of microcomputer graphics to control of a CNC machine |
Authors: | สาโรช พรวิจิตรจินดา |
Advisors: | วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Viboon.S@Chula.ac.th |
Subjects: | การควบคุมอัตโนมัติ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Automatic control Robots, Industrial Computer programs |
Issue Date: | 2531 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | เครื่อง ซีเอ็นซี เป็นเครื่องมือกล ซึ่งจัดอยู่ในพวกหุ่นยนต์อุตสาหกรรมประเภทหนึ่ง ที่สามารถควบคุมค่าความเที่ยงตรงของชิ้นงานได้ตามความต้องการของการนำไปใช้งาน โดยไม่ต้องอาศัยผู้ชำนาญงานทางด้านการผลิตโดยเฉพาะมาทำการควบคุม เครื่องซีเอ็นซี จึงเหมาะที่จะใช้กับงานที่ต้องการผลิตเป็นจำนวนมาก ๆ ปัญหาสำคัญของการใช้งานของเครื่องซีเอ็นซีอยู่ที่การสร้างโปรแกรมการสั่งงานซึ่งต่อนข้างยากและยาวภาษาที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป คือ ภาษา จีโคด ซึ่งจัดเป็นภาษาระดับต่ำ โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยการกำหนดสภาพการทำงานของเครื่องจากผู้ใช้โดยตรงส่วนหนึ่ง และข้อมูลที่ใช้ในการกำหนดรูปร่างของชิ้นงานจากโปรแกรมวาดแบบอีกส่วนหนึ่ง โปรแกรมดังกล่าวนี้จะทำการวิเคราะห์หาตำแหน่งของคัทเดอร์ที่เหมาะสมสำหรับขนาดของคัทเตอร์ที่ผู้ใช้กำหนดและทำการสร้างรหัสการสั่งงานให้กับเครื่อง ซีเอ็นซี หลังจากนั้นผู้ใช้จึงจะทำการส่งผ่านข้อมูลไปยังเครื่องซีเอ็นซีโดยอาศัย Asynchonous Communication Port โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นนี้ จะสามารถสร้างรหัสการสั่งงานสำหรับ งานเจาะ และงานกัดในระนาบ 2 มิติและงาน pocket เฉพาะที่เป็นวงกลม และสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งด้านคู่ขนานของแต่ละคู่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าจะต้องขนานกับแกน X และ Y ตามลำดับ |
Other Abstract: | A CNC machine tool is a kind of industrial robots. CNC machine can produce high accuracy workpieces with little interferance of an operator. The important problem of CNC machines is the establishment of the CNC part programming which is rather difficult and tedious. The C code is a low-level language and generally used for the CNC part programming. In producing a CNC part programming, there are 2 necessary data using for the developed programming. First, machining parameters are defined by operators. Another is geometric descriptions of a work piece which are drawn by using the microcomputer graphics. Then, the developed programming will calculate optimal positions of the given tool diameter and construct the CNC part programming in G code format. This CNC part program will be sent to the CNC machine via an Asynchonous Communication Port. The developed programming package can establish a CNC part programming for drilling and milling in 2-dimension and pocket milling: circular and rectangular pocket as well. Especially for rectangular pockets, the parallel sides of the rectangle must be parallel to the x and y axes. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมเครื่องกล |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74983 |
ISBN: | 9745686476 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Saroj_po_front_p.pdf | 829.83 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_po_ch1_p.pdf | 700.14 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_po_ch2_p.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_po_ch3_p.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_po_ch4_p.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_po_ch5_p.pdf | 1.45 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_po_ch6_p.pdf | 696.29 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Saroj_po_back_p.pdf | 3.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.