Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75001
Title: ความต้องการทางการสื่อสารเพื่อเสริมสร้างศักยภาพเฉพาะตน ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจังหวัด ในงานเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในชนบท
Other Titles: Communication requirement in the promotion of self-efficacy of provincial health personnel for the implementation of water quality monitoring activities in the rural areas
Authors: มาลินี จุลวัจนะ
Advisors: ศิริชัย ศิริกายะ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Sirichai.S@chula.ac.th
Subjects: การสื่อสาร -- แง่จิตวิทยา
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
การพัฒนาตนเอง
Communication -- Psychological aspects
Public health personnel
Self-culture
Issue Date: 2531
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อทราบสถานการณ์ปัจจุบัน ความต้องการและความเป็นไปได้ทาง การสื่อสารเพื่อเสริมลร้างศักยภาพเฉพาะตน ยองบุคลากรในส่วนภูมิภาคผู้ปฏิบัติงานเฝ้าระวังคุณภาพน้ำใน ชนบทเพื่อผลทางการวางแผนงานพัฒนาสาธารณสุขในชนบทตามแนวคิดการเรียนรู้สังคมของอัลเบิทบันดูร่า ดังนั้น จึงได้สำรวจข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากประชากร 2 กลุ่มที่ปฏิบัติงานได้แก่ บุคลากรส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค จำนวน 72 จังหวัดโดยประยุกตจากกลวิธีการเดลไฟ และได้วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า บุคลากรทั้ง 2 กลุ่ม เป็นผู้มีคุณสมบัติทางประชากรเกื้อกูลต่อการสื่อสารซึ่งกัน และกันให้ประสบความสำเร็จ แม้ว่าบุคคลทั้ง 2 กลุ่มจะมีระดับการสื่อสาร ในปัจจุบันความต้องการและได้มอง ความเป็นไปได้ของการสื่อสาร แตกต่างกัน แต่มีความเห็นตรงกันว่าสภาวการณ์ทางการสื่อสาร เพื่อเสริมสร้าง ศักยภาพเฉพาะตนในปัจจุบันอยู่ในระดับต่ำไม่สอดคล้องกับระดับความต้องการหรือความเป็นไปได้ในสิทธิฟัง ได้รับ ทั้งในเรื่อง ความสำเร็จในงาน การดูแบบอย่าง การจูงใจด้วยวจนะ หรือการเร้าอารมณ์ จึงเสนอ ให้มีการพิจารณาผนวกกลวิธีการทางการสื่อสารเพื่อเสริมสร้างศักยภาพเฉพาะตนทั้งในส่วนของบุคลากรรัฐ และประย่าฝนในการปรับแผนดำเนินงานเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ หรือโครงการพัฒนาสาธารณสูขอื่น ๆ ให้เจริญ ก้าวหน้าในระยะยาว
Other Abstract: Success of any task is highly attached to efficacy of staff involved, this study, therefore, aims to study the communication requirement in the promotion of self-efficacy of the provincial health personnel for the implementation of water quality monitoring in the rural areas in order to obtain base line information for further man-power development of the provincial network. Delphi technic was adapted and questionnaires were sent twice to all population participated in the said activities. It is found that characteristic of personnel both in the central and provincial health offices shown being mature, experienced and qualified basis. It is remarkable to find that even though the two groups stand on different degrees of rating sources of communication they received, required and expected, they do agree that their requirement and expectations on sources of communication exceeded the present level in all aspects: performance accomplishment, vicarious experience, verbal persuasion and emotional arousal. It is recommended to utilize more communication strategies in promoting self-efficacy of man power both governmental sector and the rural people.
Description: วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531
Degree Name: นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิเทศศาสตรพัฒนาการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75001
ISBN: 9745691011
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Malinee_ch_front_p.pdf967.96 kBAdobe PDFView/Open
Malinee_ch_ch1_p.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_ch_ch2_p.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_ch_ch3_p.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_ch_ch4_p.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open
Malinee_ch_ch5_p.pdf745.68 kBAdobe PDFView/Open
Malinee_ch_back_p.pdf4.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.