Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75598
Title: Carbon dioxide removal from flue gas using amine-based hybrid solvent absorption
Other Titles: การแยกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากแก๊สเผาไหม้โดยใช้กระบวนการดูดซึมด้วยตัวทำละลายเอมีนผสม
Authors: Supitcha Rinprasertmeechai
Advisors: Sumaeth Chavadej
Pramoch Rangsunvigit
Santi Kulprathipanja
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Advisor's Email: Sumaeth.C@Chula.ac.th
Pramoch.R@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Carbon dioxide -- Absorption and adsorption
Gases -- Separation
Amines
คาร์บอนไดออกไซด์ -- การดูดซึมและการดูดซับ
ก๊าซ -- การแยก
เอมีน
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Flue gas released from most industries through the combustion of fossil fuels contained approximately 80 % N2, 15 % CO2, 5 % O2. It is considered to contribute greatly to the global warming. The objective of this study was to investigate the performance of hybrid solvents blended between primary, secondary, or tertiary amines (monoethanolamine (MEA), diethanolamine (DEA), or triethanolamine (TEA), respectively) and piperazine (PZ) for CO2 removal from flue gas in terms of CO2 absorption capacity and regeneration efficiency at different regeneration temperatures. The CO2 absorption was examined at atmospheric pressure and room temperature. The results showed that MEA blend with PZ provided a maximum CO2 absorption capacity of 0.50 mol CO2/mol amine while TEA gave the minimum CO2 absorption capacity of 0.30 mol CO2/mol amine. The regeneration of TEA at 100 °C gave the highest regeneration efficiency in both the first cycle (97.7%) and second cycle (95.2%) with less loss of absorption capacity.
Other Abstract: แก๊สเผาไหม้ที่ถูกปล่อยออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรมตลอดจนการเผาไหม้เชื้อเพลิง ฟอสซิลจะประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจนประมาณร้อยละ 80, ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ ร้อยละ 15, และก๊าซออกซิเจนประมาณร้อยละ 5 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ก่อให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก กระบวนการดูดซึมด้วยตัวทำละลาย ของเหลวถือเป็นเทคโนโลยีทางการค้าที่สำคัญที่สุดในการกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เนื่องจาก มีประสิทธิภาพสูง วัตถุประสงค์ของงานนี้คือเพื่อศึกษาพฤติกรรมของสารละลายผสมระหว่างโมโนเอทานอลเอมีน,ไดเอทานอลเอมีน, ไตรเอทานอลเอมีน และ เพปเพอราซีน ตามลำดับ เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากแก๊สเผาไหม้โดยพิจารณาถึงความจุในการดูดซึมก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และประสิทธิภาพของการนำกลับมาใช้ใหม่ที่อุณหภูมิต่าง ๆ ในการดูดซึม ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทำที่ความดันบรรยากาศและอุณหภูมิห้อง จากผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่าสารผสมระหว่างโมโนเอทานอลเอมีนกับเพปเพอราซีนมีความจุในการดูดซึมก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุดคือ 0.50 โมลก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อโมลเอมีน ในขณะที่ไตรเอทานอลเอมีนมีความจุในการดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์น้อยที่สุดคือ 0.30 โมลก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่อโมลเอมีน การนำกลับมาใช้ใหม่ของไตรเอทานอลเอมีนที่ 100 องศาเซลเซียสมีประสิทธิภาพสูงที่สุดทั้งวัฏจักรที่หนึ่ง (ร้อยละ 97.7) และวัฏจักรที่สอง (ร้อยละ 95.2) และสูญเสียประสิทธิภาพของการดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์น้อย
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petroleum Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75598
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supitcha_ri_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ295.29 kBAdobe PDFView/Open
Supitcha_ri_ch1_p.pdfบทที่ 152.37 kBAdobe PDFView/Open
Supitcha_ri_ch2_p.pdfบทที่ 2530.1 kBAdobe PDFView/Open
Supitcha_ri_ch3_p.pdfบทที่ 3139.01 kBAdobe PDFView/Open
Supitcha_ri_ch4_p.pdfบทที่ 41.04 MBAdobe PDFView/Open
Supitcha_ri_ch5_p.pdfบทที่ 538.01 kBAdobe PDFView/Open
Supitcha_ri_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก105.07 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.