Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7569
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorพรนภา บรรจงกาลกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2008-07-15T07:03:14Z-
dc.date.available2008-07-15T07:03:14Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746346482-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7569-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractเพื่อศึกษาและวิเคราะห์จำแนกปัจจัยที่เกี่ยวกับการเรียนของกลุ่มนิสิตนักศึกษาครุศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและต่ำ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ นิสิตนักศึกษาคณะครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ที่มีผลการเรียนเฉลี่ยในภาคปลายปีการศึกษา 2537 สูงกว่า 3.50 และต่ำกว่า 2.00 ของนิสิตนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ถึง 4 ที่กำลังศึกษาอยู่ภาคปลาย ปีการศึกษา 2538 จำแนกเป็นนิสิตนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง 168 คน และนิสิตนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ 196 คน เก็บข้อมูลโดยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์จำแนกประเภท แบบมีขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ตัวแปรที่สามารถจำแนกกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำมี 7 ตัวแปร ได้แก่ คะแนนเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปัญหาด้านอนาคตเกี่ยวกับการศึกษาและอาชีพ สภาพแวดล้อมด้านการเรียนการสอน อันดับการเลือก ภูมิลำเนา วิธีการเรียน และสภาพแวดล้อมด้านอาคารสถานที่ 2. สมการจำแนกประเภทที่ได้สามารถคาดคะเนการเป็นสมาชิกกลุ่มได้ถูกต้องร้อยละ 89.49 ได้สมการจำแนกดังนี้ Z = +0.7498 คะแนนเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย +0.3283 อันดับการเลือก -0.2533 ภูมิลำเนา +0.1941 วิธีการเรียน -0.3874 ปัญหาด้านอนาคตเกี่ยวกับการศึกษาและอาชีพ -0.2217 สภาพแวดล้อมด้านอาคารสถานที่ +0.3516 สภาพแวดล้อมด้านการเรียนการสอน 3. ตัวแปรที่สำคัญที่ให้น้ำหนักในการจำแนกความแตกต่างของกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ คือ คะแนนเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปัญหาด้านอนาคตเกี่ยวกับการศึกษาและอาชีพ และสภาพแวดล้อมด้านการเรียนการสอน 4. เมื่อพิจารณาแนวโน้มของตัวแปรในสมการจำแนกประเภทพบว่า ตัวแปรคะแนนเฉลี่ยสะสมชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สภาพแวดล้อมด้านการเรียนการสอน อันดับการเลือก และวิธีการเรียนเป็นตัวแปรที่มีแนวโน้มที่จะเป็นลักษณะของกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ส่วนปัญหาด้านอนาคตเกี่ยวกับการศึกษาและอาชีพ ภูมิลำเนา และสภาพแวดล้อมด้านอาคาร สถานที่เป็นตัวแปรที่จะเป็นลักษณะของกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำen
dc.description.abstractalternativeTo study and analyse factors related to learning that discriminated between high and low achievers in teacher education institutions. The populations were second year to fourth year teacher students from ten universities: 168 students with cumulative grade point average over 3.50 and 196 students with cumulative grade point average lower than 2.00. Questionnaires were used as research instrument. The percentage, mean, standard deviation, t-test and discriminant analysis technique with stepwise method were used for data analysis. The findings were as follows : 1. The seven variables that discriminated groups of high and low achievers consisted of M.6 cumulative grade point average (MGPA), personal problem in vocational and educational future (FUTURE), teaching-learning environment (CLASS), choice of entrance examination (RANK), domicile (DOMICILE), study method (STUDY), and physical environment (BUILD). 2. The discriminant function could be able to predict correctly the groups of high and low achievers about 89.49 percent. The discriminant function was as follows : Z = +0.7498 MGPA + 0.3283 RANK - 0.2533 DOMICILE + 0.1941 STUDY - 0.3874 FUTURE - 0.2217 BUILD + 0.3516 CLASS 3. The important variables that can discriminate between high and low achievers were M.6 cumulative grade point average, personal problem in vocational and educational future, and teaching - learning environment. 4. Discriminating variables which tended to be the characteristic of high achievers were M.6 cumulative grade point average, teaching - learning environment, choice for entrance examination, and study method. Personal problem in vocational and educational future, domicile, and physical environment tended to be the characteristic of low achievers.en
dc.format.extent1007156 bytes-
dc.format.extent1171591 bytes-
dc.format.extent1186668 bytes-
dc.format.extent836880 bytes-
dc.format.extent1042064 bytes-
dc.format.extent924329 bytes-
dc.format.extent824250 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.subjectสภาพแวดล้อมทางการเรียนen
dc.subjectปัญญาen
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- สิ่งแวดล้อมen
dc.subjectสถาบันอุดมศึกษา -- ไทยen
dc.titleการวิเคราะห์จำแนกปัจจัยที่เกี่ยวกับการเรียนของกลุ่มนิสิตนักศึกษา ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและต่ำ ในสถาบันผลิตครูสังกัดทบวงมหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeA discriminant analysis of factors related to learning of high and low achievers in teacher education institutions under the Jurisdiction of the Ministry of University Affairsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisordwallapa@dpu.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornnapa_Bu_back.pdf983.55 kBAdobe PDFView/Open
Pornnapa_Bu_ch5.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Pornnapa_Bu_ch4.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Pornnapa_Bu_ch3.pdf817.27 kBAdobe PDFView/Open
Pornnapa_Bu_ch2.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Pornnapa_Bu_ch1.pdf902.67 kBAdobe PDFView/Open
Pornnapa_Bu_front.pdf804.93 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.