Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7574
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โสภาพรรณ ชยสมบัติ | - |
dc.contributor.author | ประกาญจน์ เหลาอ่อน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.coverage.spatial | ระนอง | - |
dc.date.accessioned | 2008-07-15T08:12:58Z | - |
dc.date.available | 2008-07-15T08:12:58Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746351591 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7574 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en |
dc.description.abstract | ศึกษาสภาพและปัญหาการเรียนการสอนเด็กวัยอนุบาล หลายวัฒนธรรมในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดระนอง ในด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนความสัมพันธ์ ระหว่างครูกับเด็กและบรรยากาศในชั้นเรียน การปรับตัวของเด็กกับสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน และด้านความสัมพันธ์และความร่วมมือระหว่างบ้านกับโรงเรียน ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ตอน ตามลักษณะเฉพาะของวัฒนธรรม ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการศึกษาสภาพและปัญหาการเรียนการสอนเด็กวัยอนุบาลต่างศาสนา พบว่า 1) ครูทุกคนรับรู้ว่าตนเองและบุคลากรอื่นๆ ในโรงเรียนสามารถยอมรับเด็กที่นับถือศาสนาต่างจากตน ได้โดยไม่มีปัญหาแต่อย่างใด 2) ผู้บริหารและครูส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้และความเข้าใจที่ถูก ต้องเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและวิถีของชาวไทยมุสลิม โดยเฉพาะเรื่องข้อปฏิบัติและข้อห้ามต่างๆ และยังขาดการยอมรับว่าศาสนาอิสลาม มีความสำคัญเท่าเทียมกับศาสนาพุทธ 3) ครูส่วนใหญ่ยังพยายามให้เด็กไทยมุสลิมทำกิจวัตรและกิจกรรมต่างๆ ตามที่กำหนดในแผนการจัดประสบการณ์ ของสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ซึ่งเป็นมาตรฐานในวัฒนธรรมชั้นเรียนอนุบาลไทยพุทธ 4) ครูไม่ได้ช่วยจัดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้วัฒนธรรมของกันและกัน โดยนำศาสนาอิสลามหรือวิถีชีวิตชาวไทยมุสลิม สอดแทรกเข้าในการเรียนการสอนปกติเลย 5) ผู้บริหารและครูส่วนใหญ่ ยังไม่ได้ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับโรงเรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างทางศาสนา ตอนที่ 2 ผลการศึกษาสภาพและปัญหาการเรียนการสอนเด็กวัยอนุบาลต่างภาษาถิ่น พบว่า 1) ครูส่วนใหญ่ขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับความสำคัญของภาษาถิ่นและการเรียนรู้ภาษาถิ่น 2) ครูส่วนใหญ่ปฏิเสธการใช้ภาษาถิ่นของเด็กและรับรู้ว่าปัญหาการสื่อสารที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาของเด็ก 3) ครูบางคนมีปัญหาไม่สามารถสื่อความหมายกับเด็กด้วยภาษาถิ่นได้ เพราะไม่ใช่คนในพื้นที่ 4) ครูไม่ได้ส่งเสริมให้เด็กพัฒนาภาษาถิ่นของตน ควบคู่ไปกับการพัฒนาภาษาไทยกลาง | en |
dc.description.abstractalternative | Studies state and problems of instruction for multicultural preschoolers in elementary schools under the jurisdiction of the Office of Ranong Provincial Primary Education. Part 1 The finding concerning instruction for preschoolers with different religions were as follows: 1) every teacher perceived that he or she and other school personnels could accept Thai Muslim students without any problems; 2) most school administrators and teachers lacked adequate and correct knowledge and understanding about Islam religion and Muslim ways of life, especially on the practice guidelines and prohibiting rules, thus did not accept that Islamism was as important as Buddhism; 3) most teachers tried to make Thai Muslim preschoolers do chores and instructional activities as prescribed in the ONPEC's learning experience guide based on Thai Buddhist classroom culture; 4) the teachers did not provide opportunities for preschoolers to learn each other's culture by integrating Islamism and Muslim ways of life in regular instruction; 5) most school administrators and teachers did not promote home-school relationship in terms of religious differences. Part 2 The findings concerning instruction for preschoolers with different dialects were as follows: 1) most teachers lacked adequate and correct knowledge and understanding about the importance of dialect of mother language learning; 2) most teachers refused to use preschoolers' dialects and perceived that the communication problems were caused by the preschoolers; 3) a few teachers was unable to use dialect with the preschoolers since they were not local people; 4) all teachers did not support dialect or mother language development along with standard Thai development. | en |
dc.format.extent | 1017747 bytes | - |
dc.format.extent | 754681 bytes | - |
dc.format.extent | 930120 bytes | - |
dc.format.extent | 806520 bytes | - |
dc.format.extent | 1134445 bytes | - |
dc.format.extent | 786454 bytes | - |
dc.format.extent | 770134 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การศึกษาขั้นอนุบาล -- ไทย -- ระนอง | en |
dc.subject | ชาวไทยมุสลิม | en |
dc.subject | ความสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน | en |
dc.subject | สภาพแวดล้อมทางการเรียน | en |
dc.subject | มุสลิม -- ไทย -- ระนอง | en |
dc.title | การศึกษาสภาพและปัญหาการเรียนการสอนเด็กวัยอนุบาลหลายวัฒนธรรม ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดระนอง | en |
dc.title.alternative | A study of state and problems of instruction for multicultural preschoolers in elementary schools under the jurisdiction of the Office of Ranong Provincial Primary Education | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ประถมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sopapan.c@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prakan_La_back.pdf | 993.89 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prakan_La_ch5.pdf | 736.99 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prakan_La_ch4.pdf | 908.32 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prakan_La_ch3.pdf | 787.62 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prakan_La_ch2.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prakan_La_ch1.pdf | 768.02 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prakan_La_front.pdf | 752.08 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.