Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ-
dc.contributor.authorภาสิต อนุกุลอนันต์ชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-08-04T07:59:03Z-
dc.date.available2008-08-04T07:59:03Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746373056-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7716-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractโครงการวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ แสดงถึงการนำเอาวิธีการโปรแกรมหุ่นยนต์แบบ OFF-LINE Programming ด้วยระบบ CAD มาใช้ควบคุมหุ่นยนต์ในระบบผลิตอัตโนมัติแบบโมดูล (Modular production system) โดยระบบที่ใช้ในการวิจัยจะเป็นประกอบด้วย ระบบลำเลียง ระบบตรวจสอบคุณภาพ ระบบผลิต และระบบจัดเก็บชิ้นงาน โดยมีหุ่นยนต์เป็นอุปกรณ์ลำเลียงชิ้นงาน และมีการสื่อสารข้อมูลระหว่างระบบต่างๆ ผ่านระบบเครือข่าย ด้วยพิธีการ (Protocal) สื่อสารแบบโปรฟิบัส (Profibus) งานวิจัยนี้ ครอบคลุมการวางแผน และวิเคราะห์การทำงาน ของหุ่นยนต์กับสภาพแวดล้อมภายในระบบ MPS และการจำลองสถาพการทำงาน (Simulation) โดยโปรแกรม CATIA Robot Module โดยทำการศึกษาถึงการตรวจสอบและหลีกเลี่ยงการชนในเซลการทำงาน การจัดวางหุ่นยนต์ในเซลการทำงาน และการตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เช่นความเร่ง แรงที่ทำให้หุ่นยนต์สมดุลทางสถิติศาสตร์ เป็นต้น จากนั้นจึงทำการแปลงไฟล์เอาต์พุตที่ได้จากการจำลองการทำงานไปเป็นไฟล์ภาษาที่ใช้ในการควบคุมหุ่นยนต์ MITSUBISHI RV-M1 ด้วยโปรแกรมโพสต์โปรเซสเซอร์ที่ได้พัฒนาขึ้น และส่งไฟล์ที่ได้จากการแปลงดังกล่าวไปควบคุมหุ่นยนต์โดยผ่านการสื่อสารแบบอนุกรม นอกจากนั้นยังได้ครอบคลุมวิธีการโปรแกรมระบบการทำงานแบบ MPS โดยผ่านระบบเครือข่ายโปรฟิบัส ผลที่ได้จากการวิจัย แสดงให้เห็นว่าการจัดการทำงาน PLC ภายในระบบผลิตอัตโนมัติด้วยการสื่อสารผ่านเครือข่าย การโปรแกรมแบบ OFF-LINE Programming และการจำลองการทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ มีแนวโน้มที่จะใช้ได้จริงในอุตสาหกรรมการผลิตอัตโนมัติ นอกจากนั้นในการวิจัยนี้ยังเป็นพื้นฐานงานวิจัยที่จะครอบคลุมการเชื่อมต่อระหว่างระบบจำลองการทำงานและระบบผลิตจริงให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้นอีกด้วยen
dc.description.abstractalternativeThe advantage of using the OFF-LINE Programming through CAD (CATIA) strategy for programing an industrial robot is studied in the research. The robot is a material handing unit in the production system which is the modular production system. Each modules in the modular type system consists of material handling, material inspection, quality inspection, hole drilling and sorting station communicates via the profibus network protocal. The research elaborates the simulation technique of the flexible manufacturing system by using CAD (CATIA Robot Module) that covered task planning and task analysis such as collision detection and avoidance, robot installation and motion parameter checking. After simulation, the motion of the robot can be converted by using the developed post-processor and the output file can be sent to the robot via RS-232 communiction. The research also shown that the combination of the management of PLC's through network, the OFF-LINE Programming method and computer simulations in flexible manufacturing systems are very promissing. This study can be extended to complete the interface between the simulation of the flexible manufacturing system and the real system.en
dc.format.extent594866 bytes-
dc.format.extent934105 bytes-
dc.format.extent729059 bytes-
dc.format.extent1859150 bytes-
dc.format.extent1495066 bytes-
dc.format.extent556584 bytes-
dc.format.extent759208 bytes-
dc.format.extent360461 bytes-
dc.format.extent1745271 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหุ่นยนต์อุตสาหกรรมen
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบen
dc.titleการพัฒนาโพสต์โปรเซสเซอร์สำหรับระบบการผลิตอัตโนมัติen
dc.title.alternativeDevelopment of post-processors for automatic manufacturing systemsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเครื่องกลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorviboon.s@eng.chula.ac.th, Viboon.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phasit_An_front.pdf580.92 kBAdobe PDFView/Open
Phasit_An_ch1.pdf912.21 kBAdobe PDFView/Open
Phasit_An_ch2.pdf711.97 kBAdobe PDFView/Open
Phasit_An_ch3.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open
Phasit_An_ch4.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Phasit_An_ch5.pdf543.54 kBAdobe PDFView/Open
Phasit_An_ch6.pdf741.41 kBAdobe PDFView/Open
Phasit_An_ch7.pdf352.01 kBAdobe PDFView/Open
Phasit_An_back.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.