Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77449
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorวริศรา วราลักษณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialจังหวัดเชียงใหม่-
dc.date.accessioned2021-10-01T08:25:13Z-
dc.date.available2021-10-01T08:25:13Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746313274-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77449-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en_US
dc.description.abstractThe objective of this research is two folds : 1. to study the mass and interpersonal communication exposure on narcotics and the prevention among students of the lower secondary education in Muang district, Chiang Mai Province. 2. to study factors which influence the mass and interpersonal communication exposure on narcotics and the prevention. The results are as follows : 1. Most students acknowledged mass media as sources of information on narcotics and the prevention. 2. Their understanding ability was fairly high. 3. The topic understood most was the narcotics prevention and the least understood was the meaning of narcotics. 4. As for personal media, teacher was the person who talked/taught most about narcotics and the prevention and was also the person who could make students understand the most. 5. Understanding ability of school girls was higher than boys. 6. Students of the lower secondary education had different understanding levels. By comparing between classes, students of M.1 and M.2 had higher mean scores than M.3 students. 7. Mass media exposure on narcotics and the prevention was correlated with students’ understanding levels. 8. Teacher was the person who talked/taught most about narcotics and the prevention and was the same person who could make students understand most. 9. Persons whom students consulted with and relied upon most were their mothers.-
dc.description.abstractalternativeการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการเปิดรับข่าวสารความรู้เรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติดจากสื่อมวลชนและสื่อบุคคลของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกระทรวงศึกษาธิการในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พร้อมทั้งศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเปิดรับข่าวสารความรู้และความเข้าใจเรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติดของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจัยพบว่าในด้านการเปิดรับเนื้อหาเรื่องเสพติดจากสื่อมวลชนนั้นนักเรียนส่วนใหญ่เปิดรับจากสื่อมวลชนทุกประเภทบ่อยพอสมควรและมีระดับความรู้ความเข้าใจพอสมควร ซึ่งประเภทเนื้อหาที่เข้าใจมากที่สุดคือวิธีป้องกันสิ่งเสพติด รองลงมาคืออันตรายของสิ่งเสพติด ชนิด/ประเภทของสิ่งเสพติดลักษณะของผู้ติดสิ่งเสพติดและเข้าใจน้อยที่สุดคือ ความหมายของสิ่งเสพติด ในด้านสื่อบุคคลพบว่า ผู้ที่สนทนาเรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติดมากที่สุดคือ ครู/อาจารย์ รองลงมาคือ มารดาและเพื่อนสนิทและผู้ที่ทำให้เข้าใจมากที่สุดคือ ครู/อาจารย์ และเมื่อทำการทดสอบสมมติฐานในการวิจัยได้ผลดังนี้ 1. นักเรียนหญิงและนักเรียนชายมีระดับความรู้ความเข้าใจเรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกัน สิ่งเสพติดแตกต่างกันโดยพบว่านักเรียนหญิงมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนชาย 2. นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1, 2 และ 3 มีระดับความรู้ความเข้าใจเรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติดแตกต่างกันและเมื่อพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่า นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 2 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. การเปิดรับข่าวสารความรู้เรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติดจากสื่อมวลชนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นมีความสัมพันธ์กับระดับความรู้ความเข้าใจเรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติด 4. บุคคลที่สนทนาเรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติดกับนักเรียนมากที่สุดมักจะเป็นบุคคลที่ทำให้นักเรียนเข้าใจเรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติดมากที่สุดซึ่งพบว่าบุคคลดังกล่าวคือครู/อาจารย์ นั่นเอง-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1995.16-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectยาเสพติดen_US
dc.subjectการเปิดรับข่าวสารen_US
dc.subjectสื่อมวลชนen_US
dc.subjectสื่อบุคคลen_US
dc.subjectการสื่อสารระหว่างบุคคลen_US
dc.subjectเยาวชน -- การใช้สารเสพติด-
dc.subjectNarcotics-
dc.subjectMass media-
dc.subjectInterpersonal communication-
dc.subjectYouth -- Substance use-
dc.titleการเปิดรับข่าวสารความรู้เรื่องสิ่งเสพติดและการป้องกันสิ่งเสพติด จากสื่อมวลชนและสื่อบุคคล ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMass and interpersonal communication exposure on narcotics and the prevention among students of the lower secondary education in Muang district, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1995.16-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Varisara_va_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.15 MBAdobe PDFView/Open
Varisara_va_ch1_p.pdfบทที่ 11.44 MBAdobe PDFView/Open
Varisara_va_ch2_p.pdfบทที่ 22.4 MBAdobe PDFView/Open
Varisara_va_ch3_p.pdfบทที่ 31.02 MBAdobe PDFView/Open
Varisara_va_ch4_p.pdfบทที่ 43.36 MBAdobe PDFView/Open
Varisara_va_ch5_p.pdfบทที่ 52.58 MBAdobe PDFView/Open
Varisara_va_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.