Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัชพล จิตติรัตน์-
dc.contributor.authorรสกร ไชยบัวแดง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-10-31T03:54:10Z-
dc.date.available2021-10-31T03:54:10Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77674-
dc.descriptionเอกัตศึกษา (ศศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563en_US
dc.description.abstractปัจจุบันอาชญากรส่วนใหญ่มุ่งประกอบอาชญากรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินหรือทรัพย์สินอันเป็นปัจจัยสำคัญ ในการดำรงชีวิต นอกจากนี้นวัตกรรมและเทคโนโลยีหลายประเภทมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องทำให้อาชญากรสามารถนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการก่ออาชญากรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินหรือทรัพย์สินในจำนวนที่มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้การประกอบอาชญากรรมมีรูปแบบและวิธีการที่พัฒนาเป็นการกระทำความผิดในรูปแบบองค์กรอาชญากรรม และองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติซึ่งยากต่อการควบคุมและปราบปรามด้วยกฎหมายในลักษณะเดิมๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการควบคุมและปราบปรามการแปรสภาพของเงินหรือทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทำความผิด หรือเรียกว่า "การฟอกเงิน" ซึ่งเป็นการกระทำด้วยวิธีการใดๆ ก็ตามให้เงินที่ได้มาจากการกระทำความผิดกลายเป็นเงินที่เสมือนว่าได้มาโดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกจับกุมลงโทษและยึดเงินนั้น ประเทศไทยจึงได้มีการตราพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง พ.ศ. 2559 เพื่อใช้ เป็นเครื่องมือสำคัญในการตัดช่องทางการเงินของอาชญากร โดยได้กำหนดมาตรการที่ยึดหลักการในข้อแนะนำของคณะทำงาน Financial Action Task Force หรือ FATF ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ทำหน้าที่หลักในการกำหนดมาตรการด้านต่างๆ เพื่อต่อต้านการฟอกเงิน การสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย และการแพร่ขยายอาวุธ ที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง ตลอดจนภัยอื่นๆ ที่จะกระทบต่อระบบการเงินระหว่างประเทศ นอกจากนี้ FATF ยังร่วมมือกับหน่วยงานระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องเพื่อระบุจุดอ่อนด้านต่างๆ ในระดับชาติ โดยมีเป้าหมายเพื่อคุ้มครอง ไม่ให้มีการนำระบบการเงินระหว่างประเทศไปใช้กระทำความผิดen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.138-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการก่อการร้าย -- การป้องกัน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectการฟอกเงินen_US
dc.titleปัญหาการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ศึกษากรณีนำเงินตราและตราสารเปลี่ยนมือออกไปนอกหรือเข้ามาในประเทศen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisornatchapol.j@chula.ac.th-
dc.subject.keywordการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินen_US
dc.subject.keywordการก่อการร้ายen_US
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.IS.2020.138-
Appears in Collections:Law - Independent Studies

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6280202434.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.