Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77825
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมัณฑนา โอภาประกาสิต-
dc.contributor.advisorอทิตย์สา เพ็ชรสุข-
dc.contributor.authorณัฐพร นาคเรืองศรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2021-11-22T07:24:07Z-
dc.date.available2021-11-22T07:24:07Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77825-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการรีไซเคิลทางเคมีของพอลิแล็กทิกแอซิด Nature Work PLA 4042D ด้วยปฏิกิริยาไกลโคลิซิสโดยใช้เอทิลีนไกลคอล ศึกษาอิทธิพลของภาวะที่ใช้ในการไกลโคลิซิสพอลิแล็กทิกแอซิดต่อโครงสร้างเคมี นำหนักโมเลกุล และเสถียรภาพทางความร้อนของผลิตภัณฑ์ไกลโคไลซ์ ด้วยเทคนิค ‘H-NMR GPC TGA และ DSC ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์ไกลโคไลซ์มีน้ำหนักโมเลกุลลดลงเมื่อเพิ่มเวลา อุณหภูมิ และอัตราส่วนของเอทิลีนไกลคอลต่อพอลิแล็กทิกแอซิดทางการค้าที่ใช้ เมื่อใช้ภาวะในการไกลโคลิซีสเดียวกัน การเพิ่มปริมาณสารตั้งต้นส่งผลให้น้ำหนักโมเลกุลของผลิตภัณฑ์มีค่าสูงขึ้น การใช้น้ำเป็นตัวกลางในการตกตะกอนผลิตภัณฑ์ไกลโคไลซ์สามารถแยกผลิตภัณฑ์ไกลโคไลซ์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำได้ผลิตภัณฑ์ไกลโคไลซ์ที่เตรียมได้มี T₉Tₘ และเสถียรภาพทางความร้อนต่ำกว่าพอลิแล็กทิกแอซิดเล็กน้อย ประสิทธิภาพของการใช้ผลิตภัณฑ์ไกลโคไลซ์เป็นสารตั้งต้นเพื่อสังเคราะห์พอลิเอสเทอร์น้ำหนักโมเลกุล สูงศึกษาโดยปฏิกิริยาเชื่อมต่อโซ่ด้วยเมทิลีนไดฟีนิลไดโซไชยาเนต (MDI) โดยปรับดปลี่ยนอัตราส่วนหมู่ OH:NCO ตั้งแต่ 1:2.92 ถึง 1:5.84 โดยโมล เวลาในการทำปฏิกิริยา 10 ถึง 60 นาที และอุณหภูมิตั้งแต่ 175 ถึง 210 องศาเซลเซียส ผลจากการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค GPC แสดงให้เห็นว่าน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยโดยจำนวนของผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการเชื่อมต่อโซ่มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากน้ำหนักโมเลกุลเริ่มต้นประมาณร้อยละ 3 ถึงร้อยละ 88 ภาวะที่เหมาะสมในการเชื่อมต่อโซ่ขึ้นอยู่กับน้ำหนักโมเลกุลของผลิตภัณฑ์ไกลโคไลซ์เริ่มต้น ผลจากการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค DSC และ TGA ทำให้สรุปได้ว่าผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการเชื่อมต่อโซ่ซึ่งมีพันธะรีเทนและโครงสร้างแอโรแมติกส่งผลให้สมบัติทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้มีค่าไม่ด้อยไปกว่า PLA ทางการค้า-
dc.description.abstractalternativeThis research is aimed to chemically recycle poly (lactic acid) (Naturework PLA 4042D) via glycolysis reaction, in the presence of ethylene gthylene glycol (EG). Effects of glycolysis conditions on the chemical structures. molecular weight and thermal properties of the glycolysed-PLA product (GlyPLA) are investigated by’H-NMR, GPC, TGA and DSC. The results indicate that glycolysed products with lower molecular weight are likely produced at higher temperature, higher EG:PLA ratio and longer glycolysis time Under similar glycolysis conditions, increasing amount of starting maternal leads to higher molecular weight product. The utilization of water as a precipitating medium to recover the glycolysed product provides GlyPLA with lower molecular weight All glycolysed products show T₉Tₘ and thermal stability than the commercial PLA. Potential use of the glycolysed product in a preparation of high molecular weight polyester is assessed by chain-linking reaction using 4,4’-methylene diphenyl diisocyanate (MDI). Chain-linking reactions are carried out at OH:NCO molar rations of 1:2.92 to 1:5.84 reaction time of 10 to 60 minutes at vanous temperatures; 175 ℃ to 210 ℃. GPC results show that the number average molecular weight of the linked products are approximately 3% to 88% higher than of the starting glycolysed product. The optimum linking conditions rely on molecular weight of the starting glycolysed product. It can be concluded from DSC and TGA results of the linked-glycolyse products that an incorporation of urethane bond does not impose poorer physical properties to the linked-glycolyse products.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.2214-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโพลิเมอร์en_US
dc.subjectการนำกลับมาใช้ใหม่en_US
dc.subjectPolymersen_US
dc.subjectRecycling (Waste, etc.)en_US
dc.titleการรีไซเคิลทางเคมีของพอลิแล็กทิกแอซิดด้วยปฏิกิริยาไกลโคลิซิสen_US
dc.title.alternativeChemical recycling of poly(lactic acid) by glycolysis reactionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.2214-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattaporn_na_front_p.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ1.15 MBAdobe PDFView/Open
Nattaporn_na_ch1_p.pdfบทที่ 1685.87 kBAdobe PDFView/Open
Nattaporn_na_ch2_p.pdfบทที่ 21.66 MBAdobe PDFView/Open
Nattaporn_na_ch3_p.pdfบทที่ 31.18 MBAdobe PDFView/Open
Nattaporn_na_ch4_p.pdfบทที่ 42.66 MBAdobe PDFView/Open
Nattaporn_na_ch5_p.pdfบทที่ 5661.11 kBAdobe PDFView/Open
Nattaporn_na_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก3.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.