Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorธีระ เอื้อพรเจริญกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-04-20T03:21:21Z-
dc.date.available2022-04-20T03:21:21Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78400-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractการติดตั้งระบบตรวจวัดแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นอีกทั้งยังเป็นระบบตรวจวัดอัตโนมัติส่งผลให้การตรวจวัดแผ่นดินไหวนั้นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากข้อจำกัดลดลง อาจเป็นเพราะสาเหตุนี้ที่ทำให้พบการกระจายตัวของแผ่นดินไหวในบริเวณที่ปกติจะไม่เกิด เช่น บริเวณภาคอีสานหรืออ่าวไทย ทำให้เกิดข้อสงสัยและเกิดการศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้จากระบบใหม่ ซึ่งเป็นข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีความคล้ายสัญญาณรบกวน เพื่อตรวจสอบว่าการกระจายตัวของข้อมูลเหล่านี้เป็นแผ่นดินไหวจริง แผ่นดินไหวที่เกิดจากมนุษย์ หรือเป็นเพียงแค่สัญญาณรบกวนนั้น จึงได้ทำการตรวจสอบด้วยวิธีการทางสถิติโดยใช้ความสัมพันธ์ของ Gutenberg – Richter เพื่อศึกษาลักษณะของข้อมูลและมาเปรียบเทียบกับข้อมูลอ้างอิงที่ได้รับการยืนยันว่าเป็นข้อมูลแผ่นดินไหวจริงจากฐานข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา ว่ามีความสอดคล้องกันและมีลักษณะเป็นแผ่นดินไหวเหมือนกันหรือไม่ โดยศึกษาตัวแปรชนิดต่าง ๆ เช่น ขนาดของเหตุการณ์ ความลึก และช่วงเวลา เป็นต้น อีกทั้งยังตรวจสอบว่า การติดตั้งระบบตรวจวัดแผ่นดินไหวใหม่นั้น มีข้อจำกัดในการตรวจวัดลดลงไปเท่าใด เมื่อเทียบกับระบบตรวจวัดเก่า จากการศึกษาพบว่าลักษณะของข้อมูลในแต่ละตัวแปรที่ศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กัน อีกทั้งไม่มีความสอดคล้องกันกับความสัมพันธ์ของ Gutenberg – Richter และเมื่อเปรียบเทียบข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีการปนเปื้อนข้อมูลแผ่นดินไหวที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์จากฐานข้อมูลประเทศสวิสเซอร์แลนด์แล้ว พบว่าข้อมูลเหล่านี้ไม่มีความสอดคล้องกัน จึงสรุปได้ว่า การกระจายตัวที่เกิดขึ้นดังกล่าว เป็นเพียงแค่สัญญาณรบกวนเท่านั้น และหลังจากเปรียบเทียบข้อจำกัดของการตรวจวัดกับระบบก่อนที่จะมีการติดตั้งใหม่ พบว่าค่า Magnitude of Completeness จากเดิม 2.3 ลดลงไปเหลือ 2.1en_US
dc.description.abstractalternativeSince the Meteorological Department has installed 71 seismic detectors and it is an automatic system. The limitation of measurement or we call that magnitude of completeness should be reduced. However, after install we found the distribution of the earthquake is nonsense. Then I should study these noise-likely earthquake data to investigate those are earthquake event, mad made earthquake events, or noise. So, I investigate by statistical analysis with using Gutenberg – Richter Relationship and comparison characteristic of data in each parameter such as magnitude, depth, and time series with reference data from TMD. Moreover, I want to know about limitation of measurement after the system was installed. The result show characteristic of each parameter is not related to reference data. In addition to the frequency magnitude distribution is also not related to Gutenberg – Richter. The comparison of hour histogram with man-made contaminated data from Switzerland show this noise-likely earthquake data is not man-made earthquake events. So, I conclude that noise-likely earthquake data is just the noisy signal. And after the system was installed, Mc dropped from 2.3 to 2.1en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการตรวจวัดแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectSeismometryen_US
dc.titleการวิเคราะห์เชิงสถิติข้อมูลแผ่นดินไหวที่มีความคล้ายสัญญาณรบกวนฐานข้อมูลกรมอุตุนิยมวิทยาen_US
dc.title.alternativeStatistical investigation of noise-likely earthquake, the thai meteorological databaseen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-GEO-011 - Teera Earporn.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.