Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78405
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนตรี ชูวงษ์-
dc.contributor.advisorสุเมธ พันธุวงค์ราช-
dc.contributor.authorนิชฌ์นฎา นุธฎี สุขจำเริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2022-04-20T06:36:44Z-
dc.date.available2022-04-20T06:36:44Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78405-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562en_US
dc.description.abstractลุ่มน้ำปิง เป็นลุ่มน้ำสาขาใน 8 ลุ่มน้ำสาขาหลักของลุ่มน้ำเจ้าพระยาซึ่งเป็นแม่น้ำที่มีความสำคัญกับวิถีชีวิตของคนในท้องที่ พื้นที่แม่น้ำปิงจะได้รับผลกระทบจากการระบายน้ำและน้ำท่วมพื้นที่อยู่บ่อยครั้ง ทั้งพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่การเกษตร โดยคาดว่าปัญหาน้ำท่วมน่าจะเกิดจากการสะสมตัวของตะกอนบริเวณตลิ่งและบริเวณท้องน้ำ ส่งผลให้แม่น้ำแคบลง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะธรณีสัณฐานของแม่น้ำ จัดทำแผนที่แสดงอัตราการกัดกร่อนและการสะสมตัวของตะกอนริมฝั่งแม่น้ำ และเปรียบเทียบปริมาณตะกอนที่สะสมในแม่น้ำระหว่างปี 2007 และปี 2017 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 วิธี คือ ทางภาพถ่ายทางดาวเทียม บันทึกภาพเมื่อ ค.ศ. 2007 และ 2017 และศึกษาข้อมูลโดยการใช้โปรแกรม DSAS ผลการวิเคราะห์จากภาพถ่ายทางดาวเทียมพบว่ามีการเปลี่ยนของเส้นแนวชายฝั่งมีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างน้อย ในช่วงต้นของแม่น้ำที่ถัดลงมาจากเขื่อนมีการเปลี่ยนแปลงที่น้อยมาก แทบไม่มีการสะสมของตะกอน ทั้งตะกอนริมฝั่งแม่น้ำและตะกอนกลางแม่น้ำ ในขณะที่ช่วงที่มีฝายกันน้ำจะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงทางธรณีสันฐานที่ชัดเจนขึ น มีการสะสมตัวของตะกอนมาก จากการศึกษาพบว่าพื้นที่ตะกอนกลางแม่น้ำปิงตอนต้นมีเพิ่มมากขึ นถึง 8.4 % โดยคาดว่าปัจจัยที่ทำให้เกิดการสะสมตัวของตะกอนอย่างรวดเร็วในแม่น้ำปิงคือการสร้างฝายของมนุษย์นั่นเองen_US
dc.description.abstractalternativeThe Ping River Basin is a tributary of the eight main river basins of the Chao Phraya River, an important river for the local way of life. The residential and the agricultural areas along The Ping River are frequently affected by drainage and flooding. The flooding problem expects the effect of the sediment accumulation in the river banks and the middle of the river, making the narrow river down. The objective of this study is to study the river morphology. Create a map showing the rates of erosion and sediment deposition along the river banks. Moreover, compare the amount of sediment accumulated in the river between 2007 and 2017. The method of this study is divided into two systems. The first method study via satellite image that record in 2007 and 2017. The second method analyzes the data by using the DSAS program. According to the satellite image analysis, the coastline is relatively few changes. At the beginning of the river that came down from the dam, there was a minor change. The sediment at the beginning of the river was not accumulation, both the river bank and the middle of the beginning river. While in the weir area, this study found evidence of geological change. This area had a large accumulation of sediment. The sediment area in the middle of the Ping River has increased by 8.4% from the study. The weir, created by humans, expect the cause of rapid accumulation of sediment in the Ping River.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยาชายฝั่งen_US
dc.subjectธรณีสัณฐาน -- แม่น้ำปิงen_US
dc.subjectแม่น้ำปิงen_US
dc.subjectCoastal geomorphologyen_US
dc.subjectLandforms -- Ping Riveren_US
dc.subjectPing Riveren_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงทางธรณีสัณฐานและการกัดเซาะของแม่น้ำปิงตอนบนen_US
dc.title.alternativeChange of geomorphology and river erosion of upperping riveren_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62-SP-GEO-013 - Nitchnada nutdee.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.