Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78439
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปัทมา สิงหรักษ์ | - |
dc.contributor.author | ณภัทรา วงษ์สงวน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-04-21T06:15:29Z | - |
dc.date.available | 2022-04-21T06:15:29Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78439 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การผันแปรตามฤดูกาลของปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ บริเวณอ่าวไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 – 2561 โดยรวบรวมข้อมูลความเข้มข้นของคลอโรฟิลล์ เอ รายเดือน จากดาวเทียม MODIS-Aqua และประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรม SeaWiFS Data Analysis System (SeaDAS) พบว่าค่าเฉลี่ยความเข้มข้นของปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ ตลอดระยะเวลา 11 ปี มีค่า 0.7256 mg m⁻³ โดยมีค่าความเข้มข้นของปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ น้อยที่สุด ในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561 เท่ากับ 0.3699 mg m⁻³ และมีค่าความเข้มข้นของปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ มากที่สุด ในเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2556 เท่ากับ 1.1927 mg m⁻³ การผันแปรตามฤดูกาลของปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ มีรูปแบบการเปลี่ยนแปลงเป็นวัฏจักร โดยมีค่าปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ สูง ในเดือนกันยายนถึงช่วงเดือนมกราคม ซึ่งเป็นช่วงปลายฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และต่อเนื่องจนถึงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ มีค่าต่าในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงสิงหาคม ซึ่งเป็นช่วงฤดูแล้งจนถึงต้นฤดูฝนของทุก ๆ ปี ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าการเพิ่มขึ้นและลดลงของปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ อาจมีความสอดคล้องกับปัจจัยแวดล้อมตามฤดูกาล | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study examines seasonal variation in chlorophyll-a concentrations in the Gulf Of Thailand. Monthly chlorophyll-a concentration data from 2008–2018 were collected from the MODIS-Aqua satellite and processed by SeaWiFS Data Analysis System (SeaDAS). The average concentration of chlorophyll-a for the whole period was 0.7256 mg m⁻³. The minimum concentration of chlorophyll-a for the period was 0.3699 mg m⁻³ during August 2018. The highest concentration of chlorophyll-a for the period was 1.1927 mg m⁻³ during October 2013. The seasonal variation of chlorophyll-a concentration exhibited a cyclical pattern every year. High chlorophyll-a concentrations occurred between September and January which were at the end of the southwest monsoon and the northeast monsoon season. Low chlorophyll-a concentrations occurred between February and August which were in the dry season and the beginning of the rainy season. The results of this study showed that the increase and decrease in the chlorophyll-a concentration may be consistent with seasonal environmental factors. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คลอโรฟิลล์ เอ | en_US |
dc.subject | Chlorophyll-a | en_US |
dc.title | การผันแปรตามฤดูกาลของปริมาณคลอโรฟิลล์ เอ บริเวณอ่าวไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551-2561 โดยใช้เทคนิคการรับรู้ระยะไกล | en_US |
dc.title.alternative | Seasonal variation of chlorophyll-a concentration in the Gulf of Thailand from 2008 to 2018 using remote sensing | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-MARINE-006 - Naphatthra Wongsanguan.pdf | 2.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.