Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78534
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ณัฐกาญจน์ ใจดี | - |
dc.contributor.author | เพ็ญพิชชา เศรษฐพงษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-05-03T06:30:36Z | - |
dc.date.available | 2022-05-03T06:30:36Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78534 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562 | en_US |
dc.description.abstract | ในปีค.ศ. 1939 Richard von Mises ได้ตั้งคำถามที่น่าสนใจว่า “จะต้องมีกลุ่มคนอย่างน้อยกี่คนจึงจะมีโอกาสที่มีคนอย่างน้อย 2 คนเกิดวันและเดือนเดียวกันอย่างน้อย 50%” จนทำให้เกิดคำถามทั่วไปที่ว่า “ในกลุ่มคน n คน ความน่าจะเป็น ที่จะมีคนอย่างน้อย 2 คนเกิดวันและเดือนเดียวกันเป็นเท่าไร” ซึ่งคำถามดังกล่าวเรียกว่า “ปัญหาวันเกิด” จากนั้น ได้มีนักคณิตศาสตร์หลายท่านขยายปัญหาดังกล่าว โดยหาความน่าจะเป็นที่มีคนอย่างน้อย m คนจากกลุ่มคน n คนเกิดวันและเดือนเดียวกัน โดยที่2 ≤ m ≤ 5 ในโครงงานนี้เราจะขยายปัญหาวันเกิด โดยหาความน่าจะเป็นที่ในกลุ่มคน n คน จะมีคนอย่างน้อย m คนเกิดวัน และเดือนเดียวกัน เมื่อ 2 ≤ m ≤ n และประมาณค่าความน่าจะเป็นที่ได้ด้วยการแจกแจงปัวซง | en_US |
dc.description.abstractalternative | In 1939, Richard von Mises raised the interested question “how many people must be gathered before the probability of two people sharing a birthday exceeds 50 %” which leads to a general question “the probability that at least two people in a group of n people will have the same birthday”. The question is called the “Birthday Problem”. Then, many mathematicians generalized the problem to the case of at least m out of n people having the same birthday where 2 ≤ m ≤ 5. In this project, we will investigate the probability of at least m out of n people sharing a birthday where 2 ≤ m ≤ n, and will approximate the probability by Poisson distribution. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ความน่าจะเป็น | en_US |
dc.subject | Probabilities | en_US |
dc.title | การวางนัยทั่วไปของปัญหาวันเกิด | en_US |
dc.title.alternative | Generalization of Birthday Problem | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62-SP-MATH-006 - Penpicha Settapong.pdf | 775.96 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.