Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7974
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธราพงษ์ วิทิตศานต์-
dc.contributor.authorอนันต์ เศรษฐพฤทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-09-05T04:13:51Z-
dc.date.available2008-09-05T04:13:51Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741748876-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/7974-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียลถูกนำมาใช้เพื่อหาปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญต่อปฏิกิริยาการ รีฟอร์มเอทานอลด้วยไอน้ำบนตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลแมกนีเซียและนิกเกิล/อะลูมินา ซึ่งพบว่าอุณหภูมิ อัตราส่วนโดยโมลของน้ำต่อเอทานอลและเวลาสัมผัส เป็นปัจจัยที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้ ในงานวิจัยได้ศึกษาหาภาวะที่เหมาะสมในการผลิตแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส อัตราส่วนโดยโมลของน้ำต่อเอทานอลเท่ากับ 6 และเวลาสัมผัสเท่ากับ 1.0 มิลลิกรัม.นาทีต่อมิลลิลิตร ให้ค่าการเลือกเกิดของไฮโดรเจนสูงสุด ซึ่งภายใต้ภาวะที่ทำการทดลองจะเห็นว่า ตัวเร่ง ปฏิกิริยานิกเกิล/อะลูมินาให้ค่าการเลือกเกิดของไฮโดรเจนเท่ากับ 83.3% ขณะที่ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล แมกนีเซียให้ค่าการเลือกเกิดของไฮโดรเจนเท่ากับ 78.3% ตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล/อะลูมินา ให้ค่าการเลือก เกิดของไฮโดรเจนที่สูงกว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล/อะลูมินานั้นมีพื้นที่ผิวจำเพาะมากกว่าตัวเร่งปฏิกิริยา นิกเกิลแมกนีเซียถึง 8 เท่า ทำให้มีความว่องไวในการทำปฏิกิริยาสูงกว่า แต่อย่างไรก็ตามพบว่าตัวเร่ง ปฏิกิริยานิกเกิลแมกนีเซียมีความต้านทานต่อการเกิดคาร์บอนสะสม ที่มากกว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิล /อะลูมินา จึงอาจกล่าวได้ว่าตัวเร่งปฏิกิริยานิกเกิลแมกนีเซียเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ สำหรับการผลิต แก๊สไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาการรีฟอร์มเอทานอลด้วยไอน้ำเพื่อนำไปใช้กับเครื่องยนต์เซลล์เชื้อเพลิงen
dc.description.abstractalternativeThe two level factorial design was applied to evaluate the significance of each parameters in the ethanol steam reforming process on nickel magnesia and nickel/alumina catalysts. It was found that temperature, water/ethanol molar ratio and space time were influential parameters. In addition, this work investigated the optimum condition for producing hydrogen gas. It concluded that the temperature of 600 C, water/ethanol molar ratio of 6 and space time of 1.0 mg.min/ml could promote the maximum hydrogen production. Under this operating condition, it showed that nickel/alumina catalyst gives 83.3% hydrogen selectivity while nickel magnesia catalyst produces only 78.3% hydrogen selectivity. Nickel/alumina catalyst gave much higher hydrogen selectivity than nickel magnesia catalyst because of the 8 times larger specific surface area of nickel/alumina catalyst. However nickel magnesia catalyst has shown very high resistance to carbon formation in ethanol steam reforming than nickel/alumina catalyst. Nickel magnesia catalyst was an interesting choice for a production of hydrogen gas from ethanol steam reforming to be used as a fuel for fuel cell powered vehicles.en
dc.format.extent1452056 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเทคโนโลยีเคมีen
dc.subjectการทำความร้อนด้วยไอน้ำen
dc.subjectตัวเร่งปฏิกิริยาen
dc.subjectเอทานอลen
dc.subjectอะลูมินัมen
dc.subjectนิเกิลen
dc.subjectแมกนีเซียมen
dc.titleการรีฟอร์มเอทานอลด้วยไอน้ำบนตัวเร่งปฏิกริยานิกเกิลแมกนีเซียและนิกเกิล/อะลูมินาen
dc.title.alternativeEthanol steam reforming on nickel magnesia and nickel/alumina catalystsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisortharapong.v@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
anan.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.