Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80576
Title: Effect of the curing time and leaching of drill cuttings used as a raw material to produce mortar
Other Titles: ผลกระทบของระยะเวลาในการบ่มและการชะละลายของของเสียจากการขุดเจาะที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตมอร์ตา
Authors: Panida Sukhopala
Advisors: Vorapot Kanokkantapong
Nuta Supakata
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Subjects: Recycling (Waste, etc.)
Mortar -- Manufacture
การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์
ปูนมอร์ตาร์ -- การผลิต
Issue Date: 2020
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purpose of this study was to utilization drill cuttings generated from petroleum drilling, which is used as a raw material for mortar production and to find an optimal curing time for mortar. Drill cuttings from 4 depths were divided into as-is samples and cleaned samples. Each mortar was produced in cubic mortar size 5 x 5 x 5 cm³. The mixture was prepared by Portland cement: water: fine aggregate of 1:0.485:2.75 by weight. The fine aggregate in the experiment consisted of drill cuttings with replaced of coarse sand for 0% (control), and 40% by weight, curing by immersed in water for 7, 14 and 28 days. Mortars were evaluated for density, water absorption, compressive strength, and leachability. The minimum curing time to achieve the standard compressive strength was in 7 days. As-is sample at the third depth had the highest compressive strength of 48.74 MPa. Compared to the standards, it was found that density and water absorption of all specimens was passed the standard of solid load-bearing concrete masonry units (TIS 60) while average compressive strength was higher than the standards of dry mortar for masonry units (TIS 598) and TIS 60 as well. From the leaching test of heavy metals from drill cuttings, it was found that the concentration of heavy metals was lower than that of the standard set by Announcement of the Ministry of Industry, 2005. Therefore, drill cuttings can be used as a fine aggregate in the construction industry.
Other Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์จากของเสียจากการขุดเจาะ จากกระบวนการ ขุดเจาะน้ำมัน โดยนำของเสียจากการขุดเจาะใน 4 ชั้นความลึก มาใช้เป็นส่วนผสมทดแทนทรายใน กระบวนการผลิตมอร์ตาร์และศึกษาหาระยะเวลาการบ่มที่เหมาะสม ตัวอย่างของเสียจากการขุดเจาะแต่ละ ชั้นความลึกจะแบ่งออกเป็นตัวอย่างที่ผ่านการล้างน้ำ และไม่ผ่านการล้างน้ำ มาผลิตเป็นมอร์ตาร์ขนาด 5x5x5 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีส่วนผสมของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์:น้ำ:มวลรวมละเอียด ร้อยละ 1:0.485:2.75 โดยน้ำหนัก ซึ่งมวลรวมละเอียดในการทดลองนี้ประกอบด้วยทรายหยาบและของเสียจาก การขุดเจาะ ในสัดส่วนแทนที่ร้อยละ 0 (ชุดควบคุม) และร้อยละ 40 โดยน้ำหนัก ทำการบ่มในน้ำที่ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 7 14 และ 28 วัน จากนั้นจึงทำการศึกษาค่าความหนาแน่น ค่าการดูดซึมน้ำ ค่า กำลังรับแรงอัด และการชะละลาย ผลการทดลองพบว่า ระยะเวลาในการบ่มที่น้อยที่สุดที่ให้ค่ากำลังรับ แรงอัดผ่านมาตรฐาน คือ 7 วัน ของเสียจากการขุดเจาะที่ไม่ผ่านการล้างน้ำ ชั้นความลึกที่ 3 (A3) มีค่า กำลังรับแรงอัดสูงที่สุดที่ 48.74 เมกะพาสคาล เมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานพบว่า ความหนาแน่นและค่า การดูดซึมน้ำผ่านตามมาตรฐาน คอนกรีตบล็อกเชิงตันรับน้ำหนัก (มอก.60) ในขณะที่ค่ากำลังรับแรงอัด ของมอร์ตาร์ทุกตัวอย่างมีค่าสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานปูนก่อสำเร็จรูปชนิดแห้ง (มอก.598) และ มอก.60 เช่นกัน เมื่อทำการทดสอบการชะละลายโลหะหนักของของเสียจากการขุดเจาะ พบว่าต่ำกว่าเกณฑ์ มาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใช่แล้ว พ.ศ. 2548 ดังนั้นจึงสามารถนำของเสียจากการขุดเจาะมาใช้เป็นวัสดุทดแทนทรายในอุตสาหกรรมการก่อสร้างได้
Description: In Partial Fulfillment for the Degree of Bachelor of Science Department of Environmental Science, Faculty of Science Chulalongkorn University Academic Year 2020
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80576
Type: Senior Project
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63-SP-ENVI-002 - Panida Sukhopala.pdf33.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.