Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81973
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2023-03-16T08:49:11Z-
dc.date.available2023-03-16T08:49:11Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/81973-
dc.description.abstractมะเร็งท่อน้ำดีเป็นหนึ่งในมะเร็งตับชนิดที่พบมากเป็นอันดับสอง ซึ่งเกิดจากการกลายพันธุ์ของเซลล์เยื่อบุผนังของท่อน้ำดี อย่างไรก็ดีการพยากรณ์โรคของมะเร็งท่อน้ำดีทำได้ไม่ดีนัก เนื่องจากจะตรวจพบเมื่อมะเร็งมีการพัฒนาไปในระยะรุนแรง แม้ว่าคนไข้จะได้รับการรักษาด้วยการฉายแสงหรือเคมีบำบัด ผู้ป่วยส่วนมากจะมีการกลับมาเป็นซ้ำของโรค การพัฒนาการรักษาใหม่ที่มีความจำเพาะและมีประสิทธิภาพ จำเป็นจะต้องมีการเข้าใจกลไกและการเกิดกลายพันธุ์ที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งท่อน้ำดี แต่ในปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดว่าอะไรเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้เกิดการพัฒนาของมะเร็งท่อน้ำดี ในการศึกษานี้ เราจึงทำการสร้างเซลล์เยื่อบุผนังของท่อน้ำดีจากเซลล์ต้นกำเนิดพหุศักยภาพที่ได้จากการเหนี่ยวนำ ซึ่งจะทำการเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์ของยีนที่มีความเกี่ยวข้องกับมะเร็งท่อน้ำดี เช่น SMAD4 และ TP53 โดยใช้เทคนิค CRIPR-Cas9 เพื่อสร้าง model สำหรับใช้ในการศึกษากลไกการเกิดมะเร็งท่อน้ำดี ผลการศึกษาที่ได้จะช่วยทำให้สามารถเข้าใจกลไกการเกิดมะเร็งท่อน้ำดีได้มากขึ้น และนำไปสู่การหายาและพัฒนาวิธีการรักษาใหม่ที่มีประสิทธิภาพต่อไปในอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeCholangiocarcinoma (CCA) is the second most common primary liver cancer that arise from bile duct epithelial cells. However, the prognosis of CCA is poor due to detection at advanced stage. Moreover, the disease relapse was usually found after treatment. The understanding of molecular biology provides crucial pathway mutation required for develop the targeted therapeutic strategy. But the mechanism of crucial mutation drive cholangiocarcinoma remains largely unknown. In this study, we derived cholangiocyte organoid from human induced pluripotent stem cells and engineered them by introduced mutation of related gene, such as SMAD4 and TP53 using CRISPR-CAS9 in order to obtain unique tools for cholangiocarcinoma development. It will be given the understanding mechanism of cholangiocarcinogenesis and useful for drug development and advance therapy in future.en_US
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปี 2561en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตับ -- มะเร็งen_US
dc.subjectท่อน้ำดี -- มะเร็งen_US
dc.subjectสเต็มเซลล์en_US
dc.titleการศึกษาหาพยาธิกำเนิด และตัวชี้วัดชีวภาพใหม่ของมะเร็งตับโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดชนิดพหุศักยภาพen_US
dc.title.alternativeThe study of pathogenesis and identification of new biomarker for liver cancer using pluripotent stem cell modelen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
Appears in Collections:Med - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Med_Nipan Israsena_2018.pdfรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Fulltext)1.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.