Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/828
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศักดา ธนิตกุล | - |
dc.contributor.author | น้ำฝน ลิมปเจต, 2521- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ออสเตรเลีย | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-17T11:25:15Z | - |
dc.date.available | 2006-07-17T11:25:15Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741748809 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/828 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เป็นการศึกษาถึงมาตรการการนำเข้าไก่ต้มสุกของประเทศออสเตรเลียที่บังคับให้สินค้านำเข้าจากต่างประเทศต้องผ่านกระบวนการฆ่าเชื้อ Infectious Bursal Disease Virus ว่าเป็นการกระทำที่ขัดกับความตกลงว่าด้วยการบังคับใช้มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช โดยในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาถึงหลักเกณฑ์ของความตกลงว่าด้วยการบังคับใช้มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นำมาตรการสุขอนามัยมาบังคับใช้เพียงเท่าที่จำเป็นเพื่อปกป้องชีวิตและสุขภาพมนุษย์ สัตว์ และพืชของประเทศสมาชิกโดยไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เป็นการจำกัดการนำเข้าโดยแอบแฝง โดยให้สิทธิแก่ประเทศสมาชิกในการกำหนดระดับความคุ้มครองที่เห็นว่าเหมาะสมของตนเองได้ แต่จะต้องไม่ใช้สิทธิไปในทางที่ไม่ถูกต้องเพื่อเป็นเครื่องมือในการกีดกันทางการค้า จากการศึกษาพบว่า การกระทำของประเทศออสเตรเลียแสดงให้เห็นถึงความไม่จริงใจในการเปิดตลาด และก่อให้เกิดอุปสรรคทางการค้าระหว่างประเทศซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของความตกลง SPS เนื่องจาก เมื่อพิจารณาถึงมาตรการของประเทศออสเตรเลียที่กำหนดให้เนื้อไก่ปรุงสุกที่นำเข้าจากต่างประเทศจะต้องผ่านความร้อนในอุณหภูมิและระยะเวลาตามที่กำหนดนั้น มีลักษณะที่เข้มงวดต่อผลิตภัณฑ์เนื้อไก่ปรุงสุกนำเข้าจากต่างประเทศเกินกว่าที่ควรจะเป็นและไม่สัมพันธ์กับปริมาณและคุณภาพของหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่นำมาใช้เป็นพื้นฐานในการกำหนดมาตรการ และเป็นการจำกัดทางการค้าเกินกว่าความจำเป็นในการบรรลุถึงระดับความคุ้มครองที่เห็นว่าเหมาะสม เพราะมาตรการที่จะใช้เป็นเครื่องมือในการให้ความคุ้มครองนั้นต้องคำนึงความเหมาะสมทางด้านเทคนิคและเศรษฐกิจด้วย และต้องจำกัดทางการค้าน้อยกว่ามาตรการอื่นๆ ดังนั้น มาตรการของออสเตรเลียจึงไม่สอดคล้องกับพันธกรณีของความตกลง SP | en |
dc.description.abstractalternative | This thesis involves a study to show that the Australian import measures on cooked chicken meat which require that imports from abroad must be subject to Infectious Bursal Disease Virus heat treatment, which is not consistent with the WTO Agreement on the Applicationof Sanitary and Phytosanitary Measures. This research is a study of the rules on the Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures with the objective to apply sanitary measures only as necessary to protect human, animal and plant lives and health of member countries without discrimination and import restrictions while giving member countries the right to determine the appropriate level of protection. However, member countries must not exercise such right improperly and not use it as a trade barrier. The research finding shows that the Australian measures are indications of insincerity in the opening of markets access and they lead to trade barrier, which are contradictory to the objects of the SPS Agreement. The Australianmeasures, which require that cooked chicken meat imported must be subject to heat treatment at specified temperatures for a specified period of time, are too strict and not related to quantity and quality of the scientific evidences. The sanitary measures to be applied must be taken into account of technical and economic appropriateness and must be less trade restrictive than other measures. Therefore, the Australian measures do not comply with its obligations under the SPS Agreement. | en |
dc.format.extent | 10928467 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ไก่ต้มสุก | en |
dc.subject | อาหาร--มาตรการความปลอดภัย | en |
dc.subject | ความตกลงว่าด้วยมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช | en |
dc.title | ความตกลงว่าด้วยการบังคับใช้มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ภายใต้องค์การการค้าโลก : ศึกษากรณีมาตรการการนำเข้าไก่ต้มสุกของประเทศออสเตรเลีย | en |
dc.title.alternative | WTO Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures : a case study of Australian import measures on cooked chicken meat | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sakda.T@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Namphon.pdf | 4.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.